Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
คู่มือการใช้งานระบบปฏิบัติการ ubuntu เบื้องต้น - Coggle Diagram
คู่มือการใช้งานระบบปฏิบัติการ ubuntu เบื้องต้น
ubutu มีคุณสมบัติพิเศษ และมีความโดดเด่นอย่างไรบ้าง
ความง่ายต่อการใช้งาน
ใช้ ‘sudo’ บริหารระบบ เฉกเช่นเดียวกับ ‘Mac OS X’
รองรับการทำงาน CPU ประเภท 32bit , 64bit รวมทั้ง CPU แบบ ARM
ติดตั้งแบบ Live CD RUN ระบบปฏิบัติการจากแผ่น CD เพื่อให้ผู้ใช้งานได้ทดลอง ก่อนการติดตั้งจริง
ติดตั้งแบบ Live USB RUN ระบบปฏิบัติการจาก ‘Flash Memory’ เพื่อให้ผู้ใช้งานได้ทดลอง ก่อนการติดตั้งจริง
ทุกโครงการของ ‘Ubuntu’ ปราศจากค่าใช้จ่ายสำหรับลูกค้า นอกจากนี้ ผู้ที่ต้องการใช้งานทุกคน และจากทุกประเทศสามารถติดต่อขอรับ CD เพื่อนำไปทดลองใช้งานได้อย่างฟรีๆ เลยทีเดียว นอกจากนี้ทาง Ubuntu จะเป็นฝ่ายเสียค่าจัดส่งให้ทางไปรษณีย์ให้อีกด้วย เรียกได้ว่าเอื้อประโยชน์ต่อผู้ใช้งานอย่างแท้จริง ภายใต้ชื่อโครงการ ‘Ubuntu Shipit’นอกจากนี้ โครงการนี้ยังออกเป็นสิ่งต่างๆ อีกมากมาย เช่น Kubuntu Shipit และ Edubuntu Shipit อีกด้วย หากแต่อย่างไรก็ตาม ‘Edubuntu ShipIt’ ได้ปิดตัวเรียบร้อยแล้ว หลังจากตั้งแต่ออก Version 8.10 เป็นต้นมา
ในส่วนของการติดต่อ หลังจากผู้ใช้งานทำเสร็จสิ้น ก็จะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล – ส้ม ทาง ‘Ubuntu’ จะใช้ชื่อชุดตกแต่งนี้ว่า ‘Human’ ทำให้ผู้ใช้งานทำการปรับเปลี่ยนได้ หากแต่ใน Version 10.04 ทาง ‘Ubuntu’ ได้เปลี่ยนโทนสีทั้งหมด ให้เป็นสีดำ , ม่วงและส้ม
‘Ubuntu Shipit’ ใช้ระบบ APT / Synaptic ในการจัดการโปรแกรมระบบ
‘Linux TLE’ มีความพิเศษตรงที่เป็น ‘Linux’ ที่พัฒนาโดยผู้เชี่ยวชาญไทย ซึ่งทางผู้พัฒนาก็ได้ใช้ ‘Ubuntu’ เป็นรากฐานในการพัฒนา
โดยการทำงานของ ‘Linux’ สามารถนำมาติดตั้ง ไว้ได้ในเครื่อง Server หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีสมรรถนะสูง ลากยาวไปจนถึงเครื่องที่มีสมรรถนะต่ำ ไม่มี Hard Drive หรือมี RAM น้อย ด้วยการทำงานเป็นเครื่อง Client โดยเครื่อง Clientสามารถ Boot รวมทั้งสามารถเรียกใช้งานโปรแกรมต่างๆ ผ่านทาง Net Work จากเครื่อง Terminal Server โดยวิธีการนี้มีประโยชน์มาก เพราะช่วยให้ประหยัดเวลาติดตั้งโปรแกรม เนื่องจากติดตั้งเพียงเครื่องเดียวที่ Terminal Server หรือเครื่อง Client ที่ไม่จำเป็นต้องมีสมรรถภาพสูงก็ทำงานได้อย่างดีเยี่ยม
อูบุนตู (Ubuntu) ) เป็นระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ที่เป็นระบบปฏิบัติการแบบเปิดซึ่งมีพื้นฐานบนลินุกซ์ดิสทริบิวชันที่พัฒนาต่อมาจากเดเบียน การพัฒนาสนับสนุนโดยบริษัท Canonical Ltd ซึ่งเป็นบริษัทของนายมาร์ก ชัทเทิลเวิร์ธ ชื่อของดิสทริบิวชันนั้นมาจากคำในภาษาซูลู และภาษาโคซา (ภาษาในแอฟริกาใต้) ว่า Ubuntu ซึ่งมีความหมายในภาษาอังกฤษคือ "humanity towards others"อูบุนตูต่างจากเดเบียนตรงที่ออกรุ่นใหม่ทุก 6 เดือน และแต่ละรุ่นจะมีระยะเวลาในการสนับสนุนเป็นเวลา 18 เดือน รุ่นปัจจุบันของ Ubuntu คือ 15.10ซอฟต์แวร์ต่างๆ ที่รวมมาใน อูบุนตูนั้นเป็นซอฟต์แวร์เสรีเกือบทั้งหมด(มีบางส่วนที่เป็นลิขสิทธิ์ เช่น ไดรเวอร์) โดยจุดมุ่งหมายหลักของ อูบุนตูคือเป็นระบบปฏิบัติการสำหรับคนทั่วไป ที่มีโปรแกรมทันสมัย และมีเสถียรภาพในระดับที่ยอมรับได้
Ubuntu เปิดตัวเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม ค.ศ. 2004 โดยเริ่มจากการแยกตัวชั่วคราวออกมาทำจากโครงการ Debian GNU/Linux เมื่อเสร็จสิ้นคราวนั้นแล้วก็ได้มีการออกตัวใหม่ๆทุก 6 เดือน และมีการอับเดตระบบอยู่เรื่อยๆ Ubuntu เวอร์ชันใหม่ๆที่ออกมาก็ได้ใส่ GNOME เวอร์ชันล่าสุดเข้าไปด้วย โดยแผนการเปิดตัวทุกครั้งจะออกหลังจาก GNOME ออกหนึ่งเดือน ซึ่งตรงข้ามกับทางฝั่งที่แยกออกมาจาก Debian อื่นๆ เช่นพวก MEPIS, Xandros, Linspire, Progeny และ Libranet ทั้งหมดล้วนมีกรรมสิทธิ์ และไม่เปิดเผยCode ซึ่งเป็นส่วนที่อยู่ในรูปแบบธุรกิจ Ubuntu เป็นตัวปิดฉากหลักการของ Debian และมีการใช้งานฟรีมากที่สุดในเวลานี้
โลโก้ของ Ubuntu ยังคงใช้รูปแบบเดิมตั้งแต่เปิดตัวครั้งแรก ซึ่งสร้างโดย แอนดี้ ฟิสสิมอน ฟอนต์ได้รับการแจกมาจาก Lesser General Public License แล้วก็ได้มาเป็นโลโก้Ubuntu
ส่วนประกอบต่างๆของ Ubuntu ส่วนใหญ่มีพื้นฐานมาจากความไม่แน่นอนของ Debian โดยทั้งสองใช้ Debian's deb package format และ APT/Synaptic เป็นตัวจัดการการติดตั้งส่วนประกอบต่างๆ
Ubuntu ร่วมมือกับ Debian ในการผลักดันให้เปลี่ยนกลับไปเป็น Debian ถึงแม้ว่าว่าได้มีการวิพากษ์วิจารณ์ว่าไม่น่าจะเป็นไปได้ ส่วนประกอบของทั้งสองไม่สามารถเข้ากันได้ ผู้พัฒนา Ubuntu หลายๆคนว่ามีตัวจัดการรหัสของส่วนประกอบของ Debian อยู่ภายในตัวมันเอง อย่างไรก็ตาม แลน เมอดั๊ก ผู้คิดค้น Debian ได้วิจารณ์ในเรื่องความเข้ากันไม่ได้ในหลายๆอย่าง ระหว่างส่วนประกอบของ Ubuntu กับ Debian กล่าวไว้ว่า Ubuntu แตกต่างเป็นอย่างมากจาก Debian ในเรื่องความเข้ากันได้
นั้นคือแผนการที่จะแตกแยกโดยมีชื่อเรือกว่า Grumpy Groundhog มันควรจะมั่นคงแน่นอนในการพัฒนาและทดสอบ ผลักดันให้ซอร์สโค๊ด ออกไปโดยตรงจาก การควบคุมการแก้ไข ของโปรแกรมต่างต่างๆ และโปรแกรมประยุกต์นั้นก็ได้โอนย้ายไปเป็นส่วนของ Ubuntu นั่นควรจะอนุญาตให้ เหล่า Power users และ Upstream developers ในการทดสอบโปรแกรมส่วนบุคคล พวกเขาน่าจะได้ทำหน้าที่ ถ้าโปรแกรมได้ถูกกำหนดเป็นส่วนประกอบที่ได้ทำการแจกจ่ายแล้ว นอกจากนี้แล้วยังต้องการที่จะสร้างส่วนประกอบขึ้นมาด้วยตัวของพวกเขาเอง มันควรจะสามารถจัดเตรียมล่วงหน้า ก่อนคำเตือนของการสร้างที่ผิดพลาด บนโครงสร้างที่แตกต่างกัน ซึ่งเป็นการเตรียมการเอาไว้ของ กัมไปร์ กราวฮ๊อก ร่วมมือกับ Debian Unstable ทุกๆ 6 เดือน และกัมไปร์ กราวฮ๊อก ได้ทำให้เป็นซอฟต์แวร์แบบสาธารณะแล้ว
ประวัติและลำดับการพัฒนา
ปัจจุบัน Ubuntu ได้รับเงินทุนจาก คาโนนิคัล ในวันที่ 8 กรกฎาคม ค.ศ. 2005 นายมาร์ก ชัทเทิลเวิร์ธ และ บริษัทคาโนนิคัล ประกาศสร้าง Ubuntu Foundation และเริ่มให้ทุนสนับสนุน 10 ล้านดอลลาร์สหรัฐ จุดมุ่งหมายของการริเริ่มที่แน่นอนว่าจะสนับสนุนและพัฒนา เวอร์ชันต่อๆไปข้างหน้าของ Ubuntu แต่ในปี ค.ศ. 2006 จุดมุ่งหมายก็ได้หยุดลง นาย มาร์ก ชัทเทิลเวิร์ธ กล่าวว่าจุดมุ่งหมายที่จะได้เงินทุนฉุกเฉินจากความสัมพันธ์กับบริษัท Canonical คงจบลง
ในช่วงเดือน กรกฎาคม ค.ศ. 2007 ได้มี Ubuntu Live 2007 ขึ้น นายมาร์ก ชัทเทิลเวิร์ธ ประกาศว่า Ubuntu 8.04 (กำหนดการออกเดือนเมษายน ค.ศ. 2008) จะมีการสนับสนุน Long Term Support (LTS) เขาได้ดึงบริษัท Canonical มาเป็นคณะกรรมการในการออกเวอร์ชันการสนับสนุน LTS ใหม่ๆ ทุกๆ 2 ปี
ความสามารถสำคัญ
นักพัฒนา Ubuntu จำนวนมากมาจากชุมชนเดเบียนและ GNOME โดยการออก Ubuntu รุ่นใหม่จะตรงกับรุ่นใหม่ของ GNOME อยู่เสมอ มีนักพัฒนาอีกหลายกลุ่มพยายามที่จะใช้ KDE กับ Ubuntu และทำให้เกิดโครงการ Kubuntu ขึ้น นอกจากนี้ยังมีโครงการ Xubuntu สำหรับ XFCE และโครงการ Edubuntu ซึ่งเป็นลีนุกซ์ที่ใช้ภายในโรงเรียนอีกด้วย
Ubuntu นั้นเน้นในเรื่องความง่ายในการใช้งานเป็นหลัก ใช้เครื่องมือ sudo สำหรับงานบริหารระบบ เช่นเดียวกับ macOS
รองรับการทำงานกับทั้ง CPU ชนิด 32bit , 64bit และ CPU แบบ ARM
รูปแบบการติดตั้งแบบ Live CD ที่รันระบบปฏิบัติการจากแผ่นซีดี ให้ทดลองใช้ก่อนการติดตั้งจริง
รูปแบบการติดตั้งแบบ Live USB ที่รันระบบปฏิบัติการจากแฟลชเมมโมรี่ ให้ทดลองใช้ก่อนการติดตั้งจริง
ทุกโครงการของ Ubuntu นั้นไม่เสียค่าใช้จ่ายในการใช้งาน ผู้ใช้สามารถดาวน์โหลดและติดตั้ง Ubuntu ได้ฟรี
ส่วนติดต่อผู้ใช้หลังจากติดตั้งเสร็จจะเป็นสีน้ำตาลและส้ม ใช้ชื่อชุดตกแต่งนี้ว่า Human ซึ่งสามารถปรับเปลี่ยนได้ แต่ในเวอร์ชัน 10.04 ได้เปลี่ยนโทนสีทั้งหมดเป็นสีดำ ม่วงและส้ม
ใช้ระบบ APT และ Synaptic ในการจัดการโปรแกรมของระบบ
รหัสรุ่น
โครงการ Ubuntu มีการออกรุ่นของระบบปฏิบัติการทุก 6 เดือน แต่ละรุ่นใช้เรียกโดยโค้ดเนม และเลขกำกับรุ่น ตามการพัฒนา ซึ่งใช้ตามเลขปีคริสต์ศักราชและเดือนที่ออก เช่น การออกในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2004 จะมีเลขรุ่นเป็น 4.10 ใช้เป็นหมายเลขรุ่นไปด้วย
ในแต่ละรุ่นจะตั้งชื่อโดยใช้คำคุณศัพท์และชื่อสัตว์ที่คล้องจองกัน (เช่น "Focal Fossa") โดยแต่ละรุ่นจะเรียงตามลำดับอักษรยกเว้นสองรุ่นแรก ทำให้สามารถแยกได้โดยง่ายว่ารุ่นไหนใหม่กว่ากัน
การเปิดตัวทุกเวอร์ชันจะออกช้ากว่า GNOME ประมาณ 1 เดือน, และออกตามหลัง 1 เดือน เมื่อ X.org ออกเวอร์ชันใหม่ ดังนั้นทุก ๆ การเปิดตัวของ Ubuntu จะประกอบด้วยเวอร์ชันใหม่ของทั้ง GNOME และ X
Ubuntu เวอร์ชันปกติจะได้รับการสนับสนุนเป็นเวลา 9 เดือน ส่วนเวอร์ชันที่มีการติดป้ายชื่อ Long Term Support (LTS) จะได้รับการสนับสนุนและการปรับปรุงเป็นเวลา 5 ปี และจะได้รับแพทช์รักษาความปลอดภัยเพิ่มอีก 5 ปี (รวมเป็น 10 ปี) ด้วย Extended Security Maintenance (ESM) ในบริการ Ubuntu Adventage
การเปิดตัวทุกเวอร์ชันจะออกช้ากว่า GNOME ประมาณ 1 เดือน, และออกตามหลัง 1 เดือน เมื่อ X.org ออกเวอร์ชันใหม่ ดังนั้นทุก ๆ การเปิดตัวของ Ubuntu จะประกอบด้วยเวอร์ชันใหม่ของทั้ง GNOME และ X
Ubuntu เวอร์ชันปกติจะได้รับการสนับสนุนเป็นเวลา 9 เดือน ส่วนเวอร์ชันที่มีการติดป้ายชื่อ Long Term Support (LTS) จะได้รับการสนับสนุนและการปรับปรุงเป็นเวลา 5 ปี และจะได้รับแพทช์รักษาความปลอดภัยเพิ่มอีก 5 ปี (รวมเป็น 10 ปี) ด้วย Extended Security Maintenance (ESM) ในบริการ Ubuntu Adventage
การนำเอาซอฟต์แวร์ที่มีลิขสิทธิ์มาใช้
Ubuntu มีการรับรองระบบเพื่ออยู่ในสมาคม Third party software Ubuntu ได้รับรองการเป็นเจ้าของซอฟต์แวร์ที่ทำงานได้ใน Ubuntu อย่างไรก็ตามหลายโปรแกรมที่ผู้ใช้คุ้นเคยของระบบปฏิบัติการที่ไม่ฟรี เช่น Microsoft Windows นั้นเข้ากันไม่ได้และไม่ได้ถูกรับรองจาก Ubuntu แต่ซอฟต์แวร์ที่มีลิขสิทธิ์บางตัวนั้นไม่ได้กำหนดในเรื่องการแจกจ่ายก็ได้มีการรวมเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของ Ubuntu เช่นกัน
ซอฟต์แวร์บางตัวที่ไม่ได้รวมอยู่ด้วยใน Ubuntu :
ซอฟต์แวร์ที่เปิดการทำงาน region-locked และวิดีโอ DVDs, ทั้งสองน่าจะได้รับอนุญาตให้ใช้งาน จึงใช้ library ถอดรหัส DVD ของ Libdvdcss ซึ่งเป็น open-source ซึ่งเป็นประโยชน์มากสำหรับ Ubuntu และ Medibuntu
ปลั๊กอินของเว็บเบราว์เซอร์บางตัวก็มีเจ้าของลิขสิทธิ์ อย่างเช่น Adobe's (เดิมทีคือ Macromedia's) Shockwave (ที่ไม่ใช่เวอร์ชันของ Linux) และ Flash
การติดตั้ง
ความต้องการระบบ
Ubuntu สนับสนุนสถาปัตยกรรม x86_64 และ ARM64[3]
รุ่นสำหรับเซิร์ฟเวอร์
ระบบขั้นต่ำที่แนะนำที่ได้ประสิทธิภาพที่สุดดังนี้:[4]
ไมโครโปรเซสเซอร์ 1 GHz สถาปัตยกรรม amd64, arm64, ppc64el, s390x
หน่วยความจำหลัก 1 GB
พื้นที่ Harddisk 2.5 GB
การ์ดแสดงผลได้ที่ความละเอียด 640×480 pixel
ไดรฟ์ CD-ROM
รุ่นสำหรับคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ
สำหรับรุ่นที่ใช้กับเครื่องเดสก์ท็อปนั้นมีการแนะนำระบบขั้นต่ำที่ได้ประสิทธิภาพที่สุดดังนี้:
ไมโครโปรเซสเซอร์ 2 GHz 2 คอร์ สถาปัตยกรรม amd64
หน่วยความจำหลัก 4 GB
พื้นที่ Harddisk 25 GB
การ์ดแสดงผลความละเอียด 1024×768 pixel
หน่วยความจำในการ์ดแสดงผล 256 MB
ไดรฟ์ CD/DVD หรือพอร์ต USB สำหรับการติดตั้ง
การ์ดเชื่อมต่อกับระบบเน็ตเวิร์ก
สำหรับคอมพิวเตอร์รุ่นเก่าที่ไม่ได้อยู่ในระบบที่แนะนำก็ยังมี Xubuntu และ Lubuntu ซึ่งมีการแนะนำระบบขั้นต่ำดังนี้:
ไมโครโปรเซสเซอร์ 1 GHz 64 บิต
หน่วยความจำหลัก 512 MB
การ์ดแสดงผลความละเอียด 800×600 pixel
พื้นที่ Harddisk 5 GB
Ubuntu Type
ในส่วนนี้มีด้วยกัน 2 แบบคือ desktop และ server ซึ่งโดยหลักการแล้วทั้ง 2 แบบทำงานได้ไม่ต่างกัน แต่ถ้าคุณใช้งานบน PC หรือ notebook ก็ควรเลือกแบบ desktop เพราะเราจะสามารถ console ด้วยหน้า GUI ได้ สำหรับผู้ที่ต้องการ install เพื่อใช้งานเป็น server ที่เปิดใช้งานตลอดเวลา และ console ด้วยผ่าน remote ssh ไม่ต้องอาศัย GUI ก็เลือกแบบ Server
CPU-Bit
เช่นเดียวกันคือมีด้วยกัน 2 version คือ 32bit และ 64bit ซึ่งขึ้นอยู่กับเครื่องที่เรา install ด้วยว่า support 64bit หรือไม่ (ถ้าเป็น Intel คือ Core 2 duo ขึ้นไป) เราแนะนำให้ใช้ 64bit ถ้าเครื่องรองรับครับ
‘Ubuntu’ คือ ระบบปฏิบัติการประเภทหนึ่ง อีกทั้งยังเป็นระบบปฏิบัติการ ‘Linux’ ประเภทหนึ่งด้วย โดย ‘Linux’ เป็นระบบปฏิบัติการเช่นเดียวกับ Dos , Window , Unix เป็นต้น โดย ‘Linux’ นั้นได้รับการกล่าวขานกันมาก เพราะความสามารถไม่ธรรมดาของตัวระบบปฏิบัติการ นอกจากนี้สิ่งสำคัญที่สุด ก็คือ ระบบ ‘Linux’ จัดเป็นระบบปฏิบัติการประเภท Free Ware จนกระทั่งได้รับความนิยมนำมาทำเป็น server เพื่อสร้างเป็น Webserver หรือ LAMP
Installation
การติดตั้งโดยทั่วไป จะติดตั้งผ่านซีดีที่มีโปรแกรมบรรจุอยู่ในแผ่นซึ่งแผ่นซีดีนั้นสามารถหามาได้หลายวิธี เช่นสามารถแบร์นได้จาก ISO image ที่ดาวน์โหลดจากอินเทอร์เน็ต หรือสามารถหาซื้อซีดีได้ในราคาถูกโดยอาจจะซื้อรวมหรือแยกพร้อมกับคู่มือ เนื่องจากสัญญาอนุญาตของโปรแกรมเป็นแบบ GPL ลินุกซ์จากผู้จัดทำบางตัวเช่น เดเบียน สามารถติดตั้งได้จากโปรแกรมขนาดเล็กผ่านฟลอปปีดิสก์ ซึ่งเมื่อติดตั้งส่วนหนึ่งสำเร็จ ตัวโปรแกรมของมันเองจะดาวน์โหลดส่วนอื่นเพิ่มขึ้นมาผ่านทางอินเทอร์เน็ต หรือสำหรับบางตัวเช่นอูบุนตุ สามารถทำงานได้ผ่านซีดีโดยติดตั้งในแรมในช่วงที่เปิดเครื่อง
การทำงานของลินุกซ์สามารถติดตั้งได้ในเครื่องเซิร์ฟเวอร์หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีสมรรถนะสูง จนถึงเครื่องที่สมรรถนะต่ำ ที่ไม่มีฮาร์ดไดรฟ์หรือมีแรมน้อยโดยทำงานเป็นเครื่องไคลเอนต์โดยที่เครื่องไคลเอนต์ สามารถบูตและเรียกใช้งานโปรแกรมต่างๆผ่านทางเน็ตเวิร์กจากเครื่องเทอร์มินอลเซิร์ฟเวอร์ ซึ่งวิธีการนี้ยังคงช่วยให้ประหยัดเวลาในการติดตั้งโปรแกรม เพราะติดตั้งเพียงเครื่องเดียวที่เทอร์มินอลเซิร์ฟเวอร์ รวมถึงราคาของเครื่องไคลเอนต์ที่ไม่จำเป็นต้องมีสมรรถภาพสูงซึ่งมีราคาถูกกว่าเครื่องทั่วไป
‘Ubuntu’ คือ ระบบปฏิบัติการประเภทหนึ่ง อีกทั้งยังเป็นระบบปฏิบัติการ ‘Linux’ ประเภทหนึ่งด้วย โดย ‘Linux’ เป็นระบบปฏิบัติการเช่นเดียวกับ Dos , Window , Unix เป็นต้น โดย ‘Linux’ นั้นได้รับการกล่าวขานกันมาก เพราะความสามารถไม่ธรรมดาของตัวระบบปฏิบัติการ นอกจากนี้สิ่งสำคัญที่สุด ก็คือ ระบบ ‘Linux’ จัดเป็นระบบปฏิบัติการประเภท Free Ware จนกระทั่งได้รับความนิยมนำมาทำเป็น server เพื่อสร้างเป็น Webserver หรือ LAMP