Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Leptospirosis โรคฉี่หนู - Coggle Diagram
Leptospirosis โรคฉี่หนู
โรคเลปโตสไปโรลิสเป็นโรคติดต่อจากสัตว์สู่คน ติดต่อโดยการสัมผัสสิ่งแวดล้อมที่ปนเปื้อนกับปัสสาวะของสัตว์ที่ป่วยหรือเป็นพาหะนำโรค เช่น หนู โค กระบือ สุกร สุนัข แพะ แกะ โรคนี้พบได้ทั่วโลก แต่พบมากในประเทศเขตร้อน รวมทั้งประเทศไทย พบบ่อยในช่วงฤดูฝนหรือเมื่อเกิดน้ำท่วม ประชากรกลุ่มเสี่ยงคือ เกษตรกร คนที่ทำงานบริเวณที่ชื้นแฉะ มีน้ำท่วมขัง หรือใช้แหล่งน้ำร่วมกับสัตว์เลี้ยง รวมทั้งคนที่มีกิจกรรมสันทนาการทางน้ำ เช่น ว่ายน้ำ อาการของโรคมีตั้งแต่เป็นไข้ ปวดเมื่อยตามตัตว ปววดน่อง จนกระทั่งอาการรุนแรง ตัว/ตาเหลือง ไตวายฉับพลัน การหายใจล้มเหลว เลือดออกในปอดเเละเสียชีวิตได้
-
-
-
-
รักษาเป็นผู้ป่วยนอก
-
-
-
- นัดติดตามอาการและมาเจาะเลือดเพื่อยืนยันการวินิจฉัย ภายใน 1-4 สัปดาห์
รักษาเป็นผู้ป่วยวิกฤต
- ถ้า Shock (BP < 90/60 หรือ SBP ลดลง 30 mmHg) ให้สารน้ำให้เพียงพอ และหลังได้สารน้ำทดแทนอย่างเพียงพอให้พิจารณา norepinephrine
- ถ้าหอบเหนื่อยหรือไอมีเสมหะปนเลือด พิจารณา Oxygen therapy โดย keep O2 > 95% พิจารณา mechanical ventilator ถ้าอาการไม่ดีขึ้น ในกรณีที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษา พิจารณาการส่งต่อไปรักษาที่โรงพยาบาลมีความพร้อมในการใช้เครื่องพยุงการทำงานของปอด (extracorporeal membrane oxygenation, ECMO)
- ถ้าปัสสาวะออกน้อยลง (urine < 0.5 ml/min หรือ น้อยกว่า 30 ml ใน 1 ชั่วโมง) ส่ง BUN/Cr, Electrolyte ระวังภาวะ AKI, hyperkalemia, acidosis และพิจารณาการบำบัดทดแทนไต เมื่อระดับ BUN > 60 mg/dl, ระดับ Cr > 6 mg/dl หรือปัสสาวะน้อยกว่า 400 mL/day หรือภาวะ hyperkalemia หรือภาวะ severe metabolic acidosis หรือภาวะน้ำท่วมปอดที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษา
- ถ้าซึมลงหรือระดับความรู้สึกตัวผิดปกติ พิจารณา Lumbar puncture เพื่อหาสาเหตุจากการติดเชื้ออื่นๆ และส่ง BUN/Cr, Electrolyte ซ้ำ
- ถ้ามีภาวะเลือดออกผิดปกติ เช่น UGIB, lung hemorrhage ให้ติดตาม Hct ทุก 4-6 ชั่วโมง และให้เลือดทดแทนตามความเหมาะสม พิจารณาส่ง PT, PTT, INR
- เฝ้าระวังภาวะ acute liver failure