Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Bacteria Meningitis with Shock, นางสาวมินตรา พันชมภู รหัส6248100086 -…
Bacteria Meningitis with Shock
ข้อมูลผู้ป่วย ชายไทย อายุ 50 ปี ศาสนาพุทธ สถานภาพสมรส การศึกษาป.6 อาชีพรับจ้าง BW 60 kg height 170cm. วันที่รับไว้ในโรงพยาบาล 22/08/65 Dx.Bacteria Meningitis
CC. มีอาการปวดศีรษะมาก อ่อนเพลีย1วัน ก่อนมา รพ.
อาการแรกรับ ผู้ป่วยชายไทย สีหน้าอ่อนเพลีย ซึมหลับตลอด เรียกลืมตา ถามตอบรู้เรื่อง ทำตามสั่งได้ E3V5M6 pupil 4 min RTL Both eyes บอกปวดศีรษะ pain score=7 คลื่นไส้ไม่อาเจียน Motor power แขนขวาเกรด 5 แขนซ้ายเกรด 4 ขาขวาเกรด 5 ขาซ้ายเกรด 2 เปลือกตาซีด ไม่ชักเกร็ง หายใจไม่เหนื่อยหอบ RR=16bpm HR=88bpm BP=110/94mmHg รอส่งทำCT brain
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Electrolyte22/8/65พบ K=2.9(3.5-5.0mEq/l) 23/8/65พบ Na=174(130-145mmol/l) CL=140(98-107mmol/l)
22/8/65พบ CBC WBC=28500(4000-11000cell) Neu=84(40-75%)
LFTพบSGPT=88(30-65U/L) ALK phospatase 141(50-136U/L) FBS=138(70-100mg/dl)
Gram stain=positive(cocci in single pairs and short chains) sugar =00mg%(40-70%) Protein=261.2(<40mg/dl) 23/8/65
พบBUN=45(7-18mg/dl) Cr=2.5(0.6-1.3mg/dl) eGFR=31.17(>90
ปัญหา
3.มีภาวะเนื้อเยื่อสมองบวมเนื่องจากมีการอักเสบติดเชื้อที่สมอง
ข้อมูลสนับสนุน
pain score=10
มีไข้ 38-39.5 องศา
การพยาบาล
1.ประเมินอาการปวดศีรษะและอาการกลัวแสง เหตุผลเมื่อเยื่อหุ้มสมองอักเสบจากการติดเชื้อ อาจนำไปสู่การอักเสบที่ทำให้เกิดอาการปวดศีรษะรุนแรงได้ เยื่อหุ้มสมองอักเสบยังทำให้เกิดความรู้สึกไวต่อแสง
2.ประเมินสัญญาณของ Kernig sign (ความเจ็บปวดและการต้านทานการยืดเข่าแบบพาสซีฟโดยเกร็งสะโพกเต็มที่) และสัญญาณของ Brudzinski sign (สะโพกงอเมื่อก้มศีรษะไปข้างหน้า)เหตุผลใช้เพื่อประเมินสัญญาณการระคายเคืองของเยื่อหุ้มสมอง
3.ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะใช้เพื่อลดการอักเสบและลดความเจ็บปวด
4.สภาพแวดล้อมเพื่อส่งเสริมการพักผ่อนการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม เช่น เสียงรบกวนที่เพิ่มขึ้นและแสงจ้าทำให้เกิดความรู้สึกทางประสาทสัมผัสที่ส่งเสริมการระคายเคืองในสมองทำให้เกิดอาการชัก
5.ดูแลจัดท่าและการเปลี่ยนอริยาบทแต่ไม่ขัดต่อการรักษา เหตุผลให้ความสบายและลดการระคายเคืองและความกระวนกระวายใจ
4.มีภาวะเลือดไปเลี้ยงสมองลดลงเนื่องจากความดันในกระโหลกสูง
การพยาบาล
1.ประเมินV/S การเพิ่มความดันโลหิตซิสโตลิกพร้อมกับการลดความดันโลหิตไดแอสโตลิกเป็นสัญญาณลางร้ายของ ICP ที่เพิ่มขึ้น
2.สังเกตภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง เหตุผลอาการและอาการแสดงที่บ่งบอกถึงการเพิ่มขึ้นของ ICP ได้แก่ ปวดศีรษะ ง่วงนอน ตื่นตัวลดลง อาเจียน
3.สังเกตความกระสับกระส่าย คราง ที่เพิ่มขึ้นเหตุผลเป็นสัญญาณบ่งบอกถึงการเพิ่มขึ้นของ ICP หรือความเจ็บปวด ความเจ็บปวดที่ไม่ได้รับการบรรเทาสามารถกระตุ้น ICP ที่เพิ่มขึ้นได้
ให้ศีรษะหรือคออยู่ในตำแหน่งกึ่งกลาง จัดหมอนใบเล็กไว้รองรับ เหตุผลการหันศีรษะไปด้านใดด้านหนึ่งจะกดทับเส้นเลือดที่คอและยับยั้งการระบายน้ำของหลอดเลือดดำ ส่งผลให้ ICP เพิ่มขึ้น
จัดท่านอนศีรษะสูง 30° และหลีกเลี่ยงการงอคอและงอสะโพกเหตุผลส่งเสริมการระบายน้ำของหลอดเลือดดำจากศีรษะ ซึ่งช่วยลดความแออัดของสมองและอาการบวมน้ำ และความเสี่ยงของ ICP ที่เพิ่มขึ้นและให้เลือดไหลเวียนสะดวก
6.ดูแลให้ได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษาลดภาวะขาดออกซิเจนซึ่งสามารถเพิ่มปริมาณเลือด, ส่งเสริมการขยายหลอดเลือดในสมองและยกระดับ ICP
ข้อมูลสนับสนุน
Gram stain=positive sugar =00mg%(40-70%) Protein=261.2(<40mg/dl)
ปวดศีรษะ คลื่นไส้
อาเจียนพุ่ง
lab LP=มีน้ำไขสันหลังขุ่น
5.ผู้ป่วยเสียชีวิตเนื่องจากอวัยวะหลายอวัยวะล้มเหลว
ข้อมูลสนับสนุน
BP dropวัดไม่ได้
ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว
GCS E1M1VT
pupil 4 min Fix
motor power เกรด 1
BUN=45mg/dl Cr=2.5mg/dl eGFR=31.17mmol/l
urine outputออก 20 ml/hr.
EKG show asystole
การพยาบาล
1.ประเมินอาการและอาการแสดงภาวะล้มเหลวได้แก่ ระดับความรู้สึกตัว การหายใจ
2.ดูแลให้ได้รับออกซิเจนชนิดventilator A/C modeตามแผนการรักษาเพื่อป้องกันเนื้อเยื่อและสมองขาดออกซิเจน
10.ดูแลให้ได้รับการฟื้นคืนชีพ CPR เพื่อช่วยชีวิตผู้ป่วยที่หยุดหายใจให้กลับมาหายใจ
9.ดูแลให้ได้รับยา Adrenaline 3 mg IV q3-5minเพื่อป้องกันภาวะshockและเพิ่มการทำงานของหัวใจ
11.ดูแลผู้ป่วยในระยะสุดท้ายให้จากไปอย่างสงบ
5.วัดและบันทึกสัญญาณชีพและ EKG ทุก 1 ชั่วโมงเพื่อประเมินภาวะผิดปกติและให้ได้รับการพยาบาลต่อเนื่อง
6.ติดตามผล Urine output ทุก 1ชั่วโมงเพื่อประเมินประสิทธิภาพการทำงานของไต
3.ดูแลให้ได้รับสารน้ำอย่างเพียงพอได้แก่
0.9% NSS 1000 ml +KCLตามแผนการรักษาและสังเกตอาการวัดความดันโลหิตซ้ําหลังได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดําครบพร้อมรายงานแพทย์ทราบ
4.เก็บสิ่งส่งตรวจและติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการได้แก่ CBC Electrolyte BUN Cr
8.วัดและบันทึกปริมาณจำนวนน้ำที่ได้รับและขับออกใน 4 ชั่วโมงเพื่อประเมินการทำงานของไต
7.สังเกตและติดตาม CVP keep 6-12cmH2Oเพื่อประเมินการทำงานของหัวใจและประเมินสารน้ำในร่างกาย
การประเมินผล
ผู้ป่วยเสียชีวิต
2.มีภาวะ septic shockเนื่องจากติดเชื้อในกระแสเลือด
ข้อมูลสนับสนุน
CVP 6-8cm.H2O
BP drop 70/43mmHg
Gram stain=positive
EKG show bradycardia 40-50bpm
LPพบ Protein=261.2 mg/dl sugar=0mg%
มีไข้ T=38-39.5องศา
WBC=28500cel Neu=84%
การพยาบาล
3.ดูแลให้ได้รับสารน้ําอย่างเพียงพอได้แก่
0.9% NSS 1000 ml ตามแผนการรักษาและสังเกตอาการวัดความดันโลหิตซ้ําหลังได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดําครบพร้อมรายงานแพทย์ทราบ
4.ดูแลให้ได้รับยาเพิ่มความดันโลหิต Dopamine IV drip ,Keep BP >90/60mmHg
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะเพื่อลดการ
ติดเชื้อCeftriaxone 2 g in 0.9% NSS100 mlตามแผนการรักษาพร้อมสังเกตอาการแพ้ยา
7.วัดและบันทึกสัญญาณชีพอาการและอาการแสดงทุก 15นาที 4ครั้ง 30นาที 2ครั้งและ1ชั่วโมงจนคงที่
6.ดูแลให้ได้รับออกซิเจน Ventilator A/C modeตามแผนการรักษาเพื่อป้องกันเนื้อเยื่อและสมองขาดออกซิเจน
8.บันทึกปริมาณจำนวนน้ำที่ได้รับและขับออกใน 4 ชั่วโมงเพื่อประเมินการทำงานของไต
9.สังเกตและติดตาม CVP keep 6-12cmH2O
2.ประเมินอาการและอาการแสดงภาวะติดเชื้อในกระแสเลือดเช่นมีไข้ ซึมลง หรือสับสน หายใจเร็ว ร่วมกับความดันต่ำกว่า 90
1.เก็บสิ่งส่งตรวจค้นหาสาเหตุและชนิดเชื้อเช่น CBC H/C LP เป็นต้น
11.ติดตามผลโลหิตวิทยาโดยดูจากเม็ดโลหิตขาว (WBC)และค่านิวโตรฟิว (neutrophil) เพื่อประเมินภาวะติดเชื้อ
10.ลดการแพร่ระบาดเชื้อเช่นล้างมือก่อนและหลังทำหัตถการทุกครั้ง
การประเมินผล
ผู้ป่วยเสียชีวิต
ยาที่ใช้
Dimen 1*3ac
กลุ่ม antihistamine รักษาอาการคลื่นไส้ อาเจียนมึนงง ง่วงซึม ตื่นตัว ปวดศีรษะ นอนไม่หลับ หัวใจเต้นเร็ว คลื่นไส้ ปากแห้ง ระคายเคืองกระเพาะอาหาร ตาพร่า ปัสสาวะขัด การพยาบาลสังเกตและติดตามผลข้างเคียงของยา ดูแลช่องปากในรายที่ปากคอแห้งให้ดื่มน้ำมากขึ้น
Plasil 1*3pc
กลุ่มยาแก้คลื่นไส้อาเจียน เหตุผลที่ใช้คลื่นไส้อาเจียน ช่วยเพิ่มการบีบตัวของกระเพาะอาหารและลำไส้ ผลข้างเคียง ลมพิษ หายใจลำบาก หน้าบวม ริมฝีปากบวม ลิ้นบวม หรือคอบวม หายใจไม่อิ่ม ซึม สังเกตและติดตามผลข้างเคียงของยา ดูแลช่องปากในรายที่ปากคอแห้งให้ดื่มน้ำมากขึ้น
Air-x 1*3pc
กลุ่มยาขับลมไม่ผลผลข้างเคียง เนื่องจากยาไซเมทิโคนจะไม่ถูกดูดซึมจากระบบทางเดินอาหารเข้าสู่กระแสเลือดในร่างกายและจะถูกขับออกมากับอุจจาระ
Cef-3 2 g IV q 6hr.
กลุ่ม3rd generation Cephalospori รักษาการติด
เชื้อแบคทีเรีย ผลข้างเคียง เกิดผื่นบริเวณผิวหนัง ท้องเสีย
การพยาบาลสังเกตและติดตามผลข้างเคียงของยา ไม่ใช้ยานี้นานเพราะจะเกิด secondary infection ได้
Paracetamol(500) 1tab prn q4-6hr.
กลุ่มแก้ปวด/ลดไข้ ลดไข้ผลข้างเคียง แน่นหน้าอก ผื่นคันแดง การพยาบาลสังเกตและติดตามผลข้างเคียงของยา แนะนำไม่ให้ซื้อยาทานเองและทานเป็นเวลานาน
KCL 30 mEq
กลุ่มเกลือแร่รักษาภาวะโพแทสเซียมในเลือดต่ำผลข้างเคียงคลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ท้องอืด จุกเสียดท้อง การพยาบาลสังเกตและติดตามผลข้างเคียงของยา เฝ้าระวังการทำงานของหัวใจ
Valium 10 mg IV
กลุ่มเบ็นโซไดอาเซพีน กล้ามเนื้อคลายตัว
และระงับอาการชัก ผลข้างเคียง่วงนอน มองไม่ชัด การพยาบาลสังเกตและติดตามผลข้างเคียงของยา
Amlodipine(5)1*2pc
กลุ่มcalcium channel blocker ช่วยขยายหลอดเลือดและเส้นเลือดฝอยที่ไปเลี้ยงหัวใจ ผลข้างเคียงง่วงซึมในช่วงกลางวัน มึนงง ปวดศีรษะ ข้อเท้าบวม บวมน้ำ ใบหน้าแดง เมื่อยล้า ใจสั่น ปวดท้อง คลื่นไส้ การพยาบาลสังเกตและติดตามผลข้างเคียงของยา บันทึกสัญญาณชีพและI/O
Dopamine
กลุ่มAdrenergic agonist agentรักษาอาการช็อก และบรรเทาภาวะความดันโลหิตต่ำ ผลข้างเคียง ใจสัน ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน หอบเหนื่อย การพยาบาลสังเกตและติดตามผลข้างเคียงของยา หากผู้ป่วยได้รับการฉายแสงให้ทานยาก่อนฉายแสง 30 นาที
Adrenaline 3 mg IV q3-5hr.
กลุ่มSympathomimetic Drug รักษาภาวะช็อกหรือความดันโลหิตต่ำรุนแรง ผลข้างเคียงหัวใจเต้นเร็ว มีปัญหาในการนอน ปวดศีรษะ ไม่อยากอาหาร คลื่นไส้ มีอาการทางประสาท วิตกกังวล ใจสั่น การพยาบาลสังเกตและติดตามผลข้างเคียงของยา
วันที่ 22/8/65 เวลา 10.00น. Pt.ปวดศีรษะมาก อาเจียนพุ่ง สับสน แพทย์ให้ส่งทำ CT scan stat ผลnormal ให้ Set LP พบ CSFขุ่น เวลา 11.30น. Pt.unconscious GCS=E1VTM4 pupil 2 min RTL both eye motor power เกรด 2แพทย์ใส่ on ET tube with ventilator A/C mode RR 16bpm TV 500 ml PEEP 3PIP 40FiO2 0.8 on NG tube on Foley cath สีเหลือง T=38C P=90-100bpm RR=16-20bpm BP=70-88/55-67 mmHg วันที่ 23/8/65Pt.ไม่รู้สึกตัว E1M1VT ฟังเสียงปอดได้ยินCrepitation เสมหะสีขาวขุ่นมาก หายใจตามเครื่อง BP drop ปลายมือปลายเท้าบวม+1
นางสาวมินตรา พันชมภู รหัส6248100086