Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พิธีการศุลกากร - Coggle Diagram
พิธีการศุลกากร
ประวัติกรมศุลกากร
1.การศุลกากร มีมาตั้งแต่ก่อนสมัยสุโขทัยจากหลักฐาน ศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหง เรียกว่า "จกอบ" ในสมัยสุโขทัยมีการ ค้าขายเป็นปัจจัย ในการสร้างความมั่งคั่งของรัฐ
2.เมื่อเข้าสู่ยุครัตนโกสินทร์ ในรัชสมัยสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวมีการประมูลผูกขาดการเรียกเก็บภาษีอากร เรียกว่า "ระบบเจ้าภาษีนายอากร" ส่วนสถานที่เก็บภาษีเรียกว่า "โรงภาษี"
3.ในปัจจุบันกรมศุลกากร ได้รับบทบาทและหน้าที่จากเดิมที่เน้นการจัดเก็บภาษีอากรจากของที่นำเข้ามาในและส่งออกไป นอกราชอาณาจักรมาเป็นการมุ่งเน้นที่จะพัฒนาส่งเสริมด้านการค้าระหว่างประเทศและการส่งออกของไทยที่มีศักยภาพ ในการแข่งขันกับตลาดการค้าของโลกได้
-
พิธีการศุลกากร
ขาเข้า
เมื่อสินค้าถึงประเทศปลายทาง ผู้นำเข้าจะต้องนำส่งเอกสารแจ้งรายการสินค้านำเข้าและชื่อผู้นำเข้าแก่เจ้าหน้าที่ศุลกากรของประเทศนั้นๆ สินค้าที่จะนำเข้านั้นจะยังไม่ถูกนำเข้าอย่างถูกกฎหมาย จนกว่าสินค้าจะถูกส่งถึงท่าเรือปลายทาง โดยได้รับอนุญาตจากเจ้าหน้าที่ศุลกากรของประเทศนั้นๆ และภาษีอากรขาเข้าได้ถูกชำระเรียบร้อยแล้วเท่านั้น ซึ่งผู้นำเข้ามีหน้าที่ในการจัดเตรียมเอกสารให้ทางเจ้าหน้าที่ศุลกากรตรวจสอบและนำสินค้าออกจากท่าเรือหรือสนามบินปลายทาง
ขาออก
สินค้าที่ส่งออกจากประเทศไทย ต้องผ่านพิธีการศุลกากรขาออก ซึ่งเป็นการรายงานต่อเจ้าหน้าที่ศุลกากรว่า มีสินค้าอะไรบ้าง ใครเป็นผู้ส่งออก และส่งไปที่ใด การส่งออกทุกชิปเม้นท์ เราจะจัดเตรียมเอกสารสำหรับการเดินพิธีการศุลกากรขาเข้าปลายทางให้กับลูกค้าดังนี้
-
-
เอกสารที่ใช้
ขาเข้า
-
พิธีการหลายเที่ยวเรือ ต้องเพิ่มเอกสารประกอบอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการพิจารณาให้ทำใบขน สินค้าหลายเที่ยวเรือ
-
-
-
พิธีการคลังสินค้าทัณฑ์บนประเภทโรงผลิตสินค้า กรณีนำเข้าโดยผู้อื่นที่มิใช่ผู้รับอนุญาตจัดตั้งคลังสินค้าทัณฑ์บนประเภทโรงผลิตสินค้าต้องเพิ่ม คำขออนุญาตนำของเข้าคลังสินค้าทัณฑ์บนประเภทโรงผลิตสินค้า
-
-
-