Infective Diarrhea โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน

ข้อมูลผู้ป่วย

ผู้ป่วยเพศชาย อายุ 67 ปี เชื้อชาติไทย สัญชาติไทย ศาสนาพุทธ ระดับการศึกษา ปริญญาตรี สถานภาพโสด อาชีพขายของ
รายได้ 8,000 บาท/เดือน ที่อยู่ปัจจุบันบ้านเลขที่ 111 หมู่ 1 ตำบลสุขสำราญ อำเภอตากฟ้า จังหวัดนครสวรรค์ วันที่รับไว้ในโรงพยาบาล 23 กรกฎาคม 2565

อาการสำคัญ

1 วันก่อนมาโรงพยาบาล มีไข้ หนาวสั่น (37.8 องศาเซีลเซียส)

ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต

การผ่าตัด

ประวัติการเจ็บป่วยในปัจจุบัน

การทำหัตถการ

2 วันก่อนมา ปวดท้อง ถ่ายเหลวมารับการรักษาที่โรงพยาบาลอุดรธานี เมื่อวันที่ 20/7/65 มารักษาอาการท้องร่วงเสียบพลัน admit ที่โรงพยาบาลประมาณ 3 วันกลับบ้านวันศุกร์ที่ 22/7/65 วันเสาร์ช่วง 4-5 ทุ่ม มีอาการไข้ หนาวสั่นจึงได้มาพบแพทย์อีกครั้ง เมื่อวันที่ 23/7/65 แพทย์ได้วินิจฉัยว่า Sepsis Diarrhea และได้ admit อีกครั้งที่วอร์ดอายุรกรรม

โรคเบาหวาน (Diabetes Mellitus : DM)

ยาที่ใช้เป็นประจำ : GABAPENTIN 300 MG CAP oral 1 เม็ด วันละ 2 ครั้ง,หลังอาหารเช้า-ก่อนนอน รับประทานยานี้แล้วอาจทำให้ง่วง : 20 CAP , MIX INSULIN 70/30 , PENFILL(100 IU/mL,3mL) 22 ยูนิต ก่อนอาหารเช้า, 10 ยูนิต ก่อนอาหารเย็น เก็บยานี้ในตู้เย็นช่องธรรมดา 2-8 องศาเซลเซียส ,ฉีดยาก่อนอาหาร 15-30 นาที : 10 PIECE

โรคความดันโลหิตสูง (Hypertension : HT)

ยาที่ใช้เป็นประจำ : HYDRAZINE 25 MG TAB oral 1 เม็ด วันละ 3 ครั้ง,หลังอาหารเช้า-เที่ยง-เย็น. : 75 TAB , CARVEDILOL 6.25 MG TAB oral 0.5 เม็ด วันละ 1 ครั้ง,หลังอาหารเช้า : 45 TAB

กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันเคยมีประวัติได้รับการผ่าตัดสวนหัวใจ (Non-ST elevation myocardial infarction status post Coronary Artery Angiography : NSTEMI S/P CAG)

ยาที่ใช้เป็นประจำ : HYDRAZINE 25 MG TAB oral 1 เม็ด วันละ 3 ครั้ง,หลังอาหารเช้า-เที่ยง-เย็น. : 75 TAB , CARVEDILOL 6.25 MG TAB oral 0.5 เม็ด วันละ 1 ครั้ง,หลังอาหารเช้า : 45 TAB , TICAGRELOR 90 MG TAB ‘BRILINTA(ด) oral 1 เม็ด วันละ 2 ครั้ง,หลังอาหารเช้า-เย็น : 180 TAB

โรคเกี่ยวกับกระดูก

ยาที่ใช้เป็นประจำ : CALCIUM CARBONATE 1000 MG TAB oral 1 เม็ดวันละ 1ครั้ง,หลังอาหารเช้า : 10 ATB ,VITAMIN D2 2000 IU CAT, ERGOCALCIFEROL oral 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง,หลังอาหารเช้า เฉพาะวันศุกร์. : 1 CAP , CHLOROQUINE PHOSPHATE 250 MG/TAB oral 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง,หลังอาหารเข้า วันเว้นวันหากมีอาการตาพร่ามัวควรปรึกษาแพทย์ : 30 TAB , PREDNISOLONE 5 MG TAB oral 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง,หลังอาหารเช้า กินยาหลังอาหารทันทีแล้วดื่มน้ำตามมากๆ : 60 TAB

ยาเกี่ยวกับความวิตกกังวล

ยาที่ใช้เป็นประจำ : LORAZEPAM 0.5 MG/(D) oral 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง,ก่อนนอนตอนกลางคืน : 10 TAB

โรคไขมันในเลือดสูง (Dyslipidemia : DLP)

โรคไวรัสตับอักเสบซี (Hepatitis C Virus : HCV Infection)

ทำบอลลูนหัวใจ (Balloon Angioplasty) ครั้งที่ 1 ที่โรงพยาบาลรามาธิบดี วันที่ผ่าตัด (Operation date) เมื่อ 30 ปีมาแล้วและครั้งที่ 2 ที่โรงพยาบาลอุดรธานี วันที่ผ่าตัด (Operation date) เมื่อ 3 เดือนที่แล้ว

Double vessel diseases การผ่านตัดเส้นเลือดหัวใจตีบ 2 เส้น เมื่อเดือนเมษายน ปี2565

ประวัติการแพ้

แพ้ยา COTRImoxazole (80 mg /400 mg) TAB ลักษณะอาการคือเป็นผื่นพุพองน้ำเหลืองตามตัว
แพ้ยา Penicillin 250 mg TAB ลักษณะอาการคือเป็นผื่นพุพองน้ำเหลืองตามตัว
แพ้ยา Simvastatin 400 mg TAB ลักษณะอาการคือปวดกล้าเนื้อน่อง

ประวัติการใช้สิ่งเสพติด

เลิกดื่มเหล้าได้ 30 ปีกว่า

เลิกสูบบุหรี่ได้ประมาณ 3 เดือน

การวินิจฉัยโรคสุดท้าย

Sepsis Diarrhea การติดเชื้อจากทางเดินปัสสาวะจากเชื้อE.Coli Sephcemia (UTI) ของโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน


อาการและอาการแสดง

ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว

บิดามารดาเสียชีวิตด้วยโรคเบาหวานความดันและไขมันในเลือดสูง มีพี่น้องทั้งหมด 6 คนพี่สาว 2 คนพี่ชาย 1คน น้องชาย 1 คนน้องสาว 1 คน พี่สาวคนที่ 2 และน้องชายคนที่ 5 เสียชีวิตด้วยโรคเบาหวาน ตัวผู้ป่วยเป็นบุตรคนที่ 4

การวางแผนการพยาบาล

ปัญหาที่พบ
เสี่ยงต่อภาวะSeptic Shock

ข้อมูลสนับสนุน

SD : มีไข้ หนาวสั่น หายใจไม่สะดวก มีอาการอ่อนเพลีย

OD : มีไข้ 37.8 องศาเซีลเซียส ตาขาวแดง มีน้ำตาซึม

วัตถุประสงค์ : ผู้ป่วยไม่เกิดภาวะพร่องออกซิเจน

เกณฑ์การประเมิน : ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการอยู่ในเกณฑ์ปกติ

กิจกรรมการพยาบาล

1.ประเมินผล
2.ตรวจv/s ทุก 2 ชั่วโมง
3.ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
4.จัดท่านอนศีรษะสูง 30 องศา
5.กระตุ้นให้ผู้ป่วยหายใจเข้าออกอย่างมีประสิทธิภาพ
6.วัดและบันทึกสัญญาณชีพ อย่างน้อยทุก 2 ชั่วโมง
7.ให้ได้รับยาฆ่าเชื้อ (เซฟไตรอะโซน) Ceftriaxone 500 mg. v q 8 hr.
8.สังเกตอาการผิดปกติหลังให้ยา

ปัญหาที่พบ
มีภาวะท้องผูกเนื่องจากได้รับสารอาหารที่มีกากใยน้อย

การประเมินผล

ยังมีไข้ และได้รับยาพาราเซตามอล 1 เม็ด ไข้ลดลงอาการดีขึ้น

ข้อมูลสนับสนุน

SD : ขับปัสสาวะวันวันละ 6-7 ครั้งต่อวัน ตั้งแต่มาอยู่รพ.มา4-5 วันยังไม่ถ่ายอุจจาระ

OD : ปัสสาวะสีขาวใสมีตะกอนปนเล็กน้อยBowel sound 4 ครั้ง/นาที

วัตถุประสงค์ : เพื่อป้องกันภาวะท้องผูก

เกณฑ์การประเมินผล : สามารถขับถ่ายได้มากขึ้น,ไม่มีอาการแสดงของท้องผูก,สามารถขับถ่ายอุจจาระทุกวัน 1-2วัน/ครั้ง,Bowel sound 4-6 ครั้ง/นาที

กิจกรรมการพยาบาล

1.ประเมินภาวะท้องผูก
2.แนะนำอาหารที่ควรรับประทานให้เหมาะสม
3.การออกกำลังกายจะช่วยให้ผู้ป่วยที่ไม่ค่อยเคลื่อนไหวถ่ายอุจจาระดีขึ้นได้ไม่ดื่มนมมากเกินไป

การประเมินผล

ผู้ป่วยสามารถอุจจาระเองได้ ตอนช่วยบ่าย ลักษณะเป็นก้อนแข็งช่วงแรกหลังจากนั่นอ่อนลง มีสีเหลืองอ่อน
Bowel sound 5ครั้ง/นาที

ปัญหาที่พบ
เสี่ยงต่อภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจากประสิทธิภาพในการแลกเปลี่ยนก๊าซลดลง

ข้อมูลสนับสนุน

วัตถุประสงค์ : เพื่อให้ผู้ป่วยทำกิจวัตรประจำวันได้ปกติ

เกณฑ์การประเมินผล : ผู้ป่วยไม่มีอาการและอาการแสดงของภาวะซีด,กิจวัตรประจำวันได้ตามปกติ,หายใจได้ด้วยตนเอง,ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการอยู่ในเกณฑ์ปกติ

SD : ผู้ป่วยบอกว่าเดินเข้าห้องน้ำกลับมาเหนื่อยหอบ หายใจไม่ทั่วท้อง

OD : ผู้ป่วยมีอาการเหนื่อย อ่อนเพลียเยื่อบุตาซีด

กิจกรรมการพยาบาล

1.ประเมินภาวะพร่องออกซิเจน ประเมินอัตราการหายใจ ชีพจร
2.ดูแลให้ได้รับออกซิเจน
3.ประเมินสัญญาณชีพทุก 2 ชั่วโมง
4.จัดท่านอนศีรษะสูง 30 องศา
5.สังเกตอาการและอาการแสดงของระดับความรู้สึกตัว
6.ช่วยเหลือผู้ป่วยในการทำกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วย
7.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำชนิด Acetar 1000 ml. IV drip rate 40 ml/hr.
8.สังเกตอาการผิดปกติหลังให้ยา
9.ยกไม้กั้นเตียงขึ้นทุกครั้งหลังให้การพยาบาล
10.ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการและสังเกตอาการผิดปกติระหว่างวัน

การประเมินผล

ผู้ป่วยสามารถเริ่มหยิบสิ่งของเอง,เริ่มหายใจได้ด้วยตนเองโดยไม่ใช้ oxygen cannula เป็นระยะๆและไม่มีอาการซีด

ปัญหาที่พบ
เสี่ยงต่อภาวะทุพโภชนาการเนื่อง
จากรับประทานอาหารได้น้อย

ข้อมูลสนับสนุน

SD : ผู้ป่วยบอกว่ารับประทานอาหารได้น้อยเพราะอาหารไม่ถูกปาก

OD : บางวันรับประทานหมดบางวันรับประทานนิดเดียว

เกณฑ์การประเมิน : ไม่มีอาการแสดงของการขาดสารอาหาร,สามารถรับประทานอาหารได้, เยื่อบุตามีสีแดง,ผิวหนังมีมีอาการบวม,ผล.ค่าBMI อยู่ในเกณฑ์ปกติ,เกณฑ์ปกติผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ


วัตถุประสงค์ : เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับสารอาหารเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย

กิจกรรมการพยาบาล

1.ประเมินอาหารขาดสารอาหาร
2.ประเมินระดับความอิ่มตัวของผิดหนัง
3.ประเมินและบันทึกภาวะโภชนาการ
4.ดูแลจัดสภาพแวดล้อมให้สะอาด
5.ดูแลให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำชนิดPO4 Sodium 30 ml po x lll q 2 hr. และNSS 100 ml/hr.
6.ดูแลสุขวิทยาของช่องปากและฟัน
7.สังเกตอาการผิดปกติหลังให้ยา
8.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการพักผ่อนอย่างเพียงพอ
9.ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการและสังเกตอาการผิดปกติระหว่างวัน

การประเมินผล

เยื่อบุตาของผู้ป่วยเริ่มกลับมาเป็นสีแดงไม่ซีดเหมือนกับแรกรับที่มาผิวหนังไม่บวม การแห้งลอกของผิวหนังลดลงมีความชุ่มชื่นของผิวหนังเพิ่มขึ้น
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการอยู่ในเกณฑ์ปกติ

ปัญหาที่พบ
พักผ่อนไม่เพียงพอเนื่อง
จาสภาพแวดล้อมเปลี่ยนไป

กิจกรรมการพยาบาล

ข้อมูลสนับสนุน

SD: ผู้ป่วยบอกนอนไม่ค่อยหลับ หลับๆ ตื่นๆ นอนกลางวันเป็นส่วนมาก

OD: ผู้ป่วยมีสีหน้าเครียดบางเวลาและไม่ค่อยสนใจสภาพแวดล้อมใน โรงพยาบาล

วัตถุประสงค์ : เพื่อลดความวิตกกังวล เพื่อให้ผู้ป่วยนอนหลับพักผ่อนได้

เกณฑ์ประเมินผล : สีหน้าไม่เคร่ง เครียดหรือกังวล,สภาพแวดล้อม ,ไม่ตกใจง่าย,ผู้ป่วยนอนหลับได้โดยไม่ต้องใช้ ยานอนหลับ หรือใช้น้อยลง ระยะเวลา ห่างออกไป

1.ประเมินสาเหตุและแบบแผนการนอน
2.ประเมินคุณภาพการนอนหลับทั้งเชิง ปริมาณและเชิงคุณภาพ
3.จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบ แสงสว่าง เพียงพอ ขจัดสิ่งรบกวน
4.จัดกิจกรรมการพยาบาลเป็นช่วงเวลาเดียวกัน
5.แจ้งให้ญาติผู้ป่วยทราบในเรื่องเวลาการเข้าเยี่ยม
6.ไม่ให้ดื่มน้ำก่อนเข้านอนอย่างน้อย 2 ชั่วโมง เพื่อจะได้ไม่ตื่นปัสสาวะตอนกลางคืน
7.ผู้ป่วยรับประทานยา LORAZEPAM 0.5 MG/(D) oral 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง,ก่อนนอนตอนกลางคืน
8.ผู้ป่วยต้องนอนหลับพักกผ่อนอย่างน้อยวันละ 8 ชั่วโมง/วัน

การประเมินผล

ผู้ป่วยสามารถพักผ่อนได้เพิ่มมากขึ้นจากเดิมและอาการง่วงนอนกลางวันลดลง

ปัญหาที่พบ
มีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการเจ็บป่วย

กิจกรรมการพยาบาล

ข้อมูลสนับสนุน

OD: สีหน้ากังวลและแววตาเศร้า พูดน้อยเมื่อถามเกี่ยวกับโรคที่เป็น

SD: เจ็บป่วยครั้งนี้มีผลกระทบหลายอย่างโดนเฉพาะรายได้ต้องจ่ายค่าบ้าน ค่ารถ เพราะผู้ป่วยตัวคนเดียวต้องหารายได้เลี้ยงตัวเอง

วัตถุประสงค์ : เพื่อลดความวิตกกังวลและให้ความร่วมมือในการดูแลรักษาต่อไป

เกณฑ์การประเมิน : ผู้ป่วยคลายความวิตกกังวลเกี่ยวกับการเจ็บป่วย,สีหน้าไม่เคร่งเคียดหรือกังวล,สามารถนอนหลับได้,เกณฑ์ปกติผลการตรวจทางห้อง
ปฏิบัติการอยู่ในเกณฑ์ปกติ

1.สร้างสัมพันธภาพที่ดี
2.ให้ข้อมูลผู้ป่วยเกี่ยวกับการรักษาให้เข้าใจตามความเหมาะสม
3.เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยซักถามสิ่งที่สงสัย
4.ให้ความดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
5.ประสานงานให้ญาติได้พบแพทย์เพื่อซักถามในประเด็นที่ยังไม่เข้าใจและมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในการรักษา
6.แนะนำคนผู้ป่วยให้พูดคุยเล่นกับคนข้างเตียง
7.ผู้ป่วยรับประทานยา LORAZEPAM 0.5 MG/(D) oral 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง,ก่อนนอนตอนกลางคืน

การประเมินผล

ผู้ป่วยมีสีหน้ายิ้มแย้ม ไม่มีอาการเศร้า พูดคุยมากขึ้น ให้ความร่วมมือและมีส่วนร่วมในแผนการรักษาพยาบาลที่วางไว้Eosinophil อยู่ในเกณฑ์ปกติ

เป็นภาวะที่มีการถ่ายอุจจาระเหลวหรือถ่ายเป็นน้ำตั้งแต่ 3 ครั้งขึ้นไปภายใน 24 ชั่วโมง หรือถ่ายเป็นมูกเลือด 1 ครั้งหรือมากกว่า

เมื่อวันที่ 20/7/65 มารักษาอาการท้องร่วงเสียบพลัน admit ที่โรงพยาบาลประมาณ 3 วัน

สาเหตุ

1.เอนเทอโรท็อกซิเจนิก E.coli (Enterotoxigenic E.coli
ชนิดเป็นสาเหตุของโรคอุจจาระร่วง E.coli)
2.เอนเทอโรเพโทเจนิก E.coli (Enteropathogenic E.coli)
3.เอนเทอโรเอกกริเกทีฟ E.coli (Entero-aggregative E.coli)
4.เอนเทอโรอิเวซีน E.coli (Enteroinvasive E.coli)
5.เอนเทอโรฮีโมเรจิก E.coli (Enterohemorrhagic E.coli)

Sepsis Diarrhea การติดเชื้อจากทางเดินปัสสาวะจากเชื้อE.Coli Sephcemia (UTI

พยาธิสรีรวิทยาของภาวะ sepsis

ภาวะการติดเชื้อที่เกิดจากกระบวนการอักเสบที่
เกิดขึ้นอย่างรุนแรงและต่อเนื่อง ในระยะแรกร่างกายจะอยู่ในภาวะhypodynamic state โดยจะมีการ
ขยายตัวของหลอดเลือดส่วนปลาย ส่งผลให้ร่างกายขาดสารน้ำที่จะให้ระบบไหลเวียนโลหิตนำไปสูบฉีด
ประกอบกับการทำงานของหัวใจแย่ลง เป็นผลจากeyto kinesต่างๆที่หลังออกมาจากเซลล์เม็ดเลือดขาว
และกระบวนการอักเสบที่มีอยู่ ทำให้ปริมาณของออกซิเจนที่ถูกขนส่งไปยังเนื้อเยื่อต่างๆลดลงใน
ขณะที่เนื้อเยื่อต่างๆมีความต้องการออกซิเจนมากนจากอัตราการเผาผลาญในร่างกายที่เพิ่มมากขึ้น
ทำให้เนื้อเยื่อทั่วร่างกายเกิดภาวะขาดออกซิเจนอย่างรุ่นแรง เนื้อเยื่อมีการปรับตัวโดยพยายามดึง
เอา ออกซิเจนจากเลือดซึ่งมีน้อยอยู่แล้วออกจากฮีโมโกลบินและพลาสมาให้มากขึ้น แต่ก็ยังไม่
เพียงพอต่อความต้องการของเนื้อเยื่อต่างๆ ร่างกาย

ยาที่ใช้เป็นประจำ

GABAPENTIN 300 MG CAP oral 1 เม็ด วันละ 2 ครั้ง
,หลังอาหารเช้า-ก่อนนอน รับประทานยานี้แล้วอาจทำให้ง่วง : 20 CAP

ใช้ทดแทนการขาดแคลเซียม และรักษาผู้ป่วยไตวายเรื้อรังที่มีภาวะฟอสเฟตในเลือดสูง
CALCIUM CARBONATE 1000 MG TAB oral 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง ,หลังอาหารเช้า : 10 ATB

VITAMIN D2 2000 IU CAT, ERGOCALCIFEROL oral 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง
,หลังอาหารเช้า เฉพาะวันศุกร์. : 1 CAP

LORAZEPAM 0.5 MG/(D) oral 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง,ก่อนนอนตอนกลางคืน : 10 TAB

ใช้ในการรักษาภาวะหัวใจล้มเหลวและลดความดันโลหิต
CARVEDILOL 6.25 MG TAB oral 0.5 เม็ด วันละ 1 ครั้ง,หลังอาหารเช้า : 45 TAB

ใช้ป้องกันภาวะหัวใจขาดเลือดและภาวะสมองขาดเลือด
TICAGRELOR 90 MG TAB ‘BRILINTA(ด) oral 1 เม็ด วันละ 2 ครั้ง,หลังอาหารเช้า-เย็น : 180 TAB

MIX INSULIN 70/30 , PENFILL(100 IU/mL,3mL) 22 ยูนิต ก่อนอาหารเช้า, 10 ยูนิต ก่อนอาหารเย็น เก็บยานี้ในตู้เย็นช่องธรรมดา 2-8 องศาเซลเซียส ,ฉีดยาก่อนอาหาร 15-30 นาที : 10 PIECE

รักษาโรคกรดไหลย้อน โรคหลอดอาหารอักเสบ และแผลในกระเพาะอาหาร
OMEPRAZOLE 20 MG CAP (C) oral 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง,ก่อนอาหารเช้า แกะแคปซูลได้แต่ห้ามบด. : 20 T

รักษาขณะอยู่โรงพยาบาล

เมอโรพีเนม (Meropenem) 2 g.มีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียในร่างกาย
ผลข้างเคียง : คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ท้องผูก มีอาการปวด บวม หรือแดงบริเวณที่ฉีดยา

Ceftriaxone 2 g.ผลข้างเคียง : ท้องเสีย คลื่นไส้ อาเจียน ถ่ายปนเลือด ปวดเกร็งบริเวณท้อง มีไข้

เมโทรนิดาโซล (Metronidazole)500 mg ผลข้างเคียง : คลื่นไส้ อาเจียน ไม่อยากอาหาร รู้สึกน้ำลายขม ปวดท้อง ไม่สบายท้อง ท้องผูก ท้องเสีย ปวดหัว เวียนหัว เดินเซ มีอาการไอ จาม

พาราเซตามอล (Paracetamol)500 mg.อุจจาระเป็นเลือด หรือมีสีดำ
ปัสสาวะเป็นเลือด ปัสสาวะน้อยลงอย่างไม่มีสาเหตุ มีอาการไข้ หนาวสั่น ปวดที่หลังส่วนล่างอย่างรุนแรง มีจุดแดงเล็กๆ ขึ้นตามผิวหนัง มีผื่นคัน เจ็บคอมีแผลร้อนใน

การรักษา

ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ

Phosphorus 1.6 mg/dL

Magnesium 1.2 mg/dL

RBC 10.5 M/uL

HGB 10.5 g/dL

HCT 33.5 %

MCHC 31.3 g/dL

Neutrophil 93.4 %N