Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Biological effects of Ionizing radiation, :<3: ตย.การศึกษา, :<3…
Biological effects of Ionizing radiation
Biological effects of radiation
การแผ่รังสีไอออไนซ์มีประโยชน์มากมายแต่ก็อาจส่งผลเสียต่อสุขภาพของมนุษย์และเพื่อสิ่งแวดล้อม
เนื่องจากรังสีเอกซ์ถูกค้นพบในปี พ.ศ. 2438 จึงทราบได้อย่างรวดเร็วว่าอาจเป็นอันตรายได้
เพื่อปกป้องผู้คนและสิ่งแวดล้อม จำเป็นต้อง
ทำความเข้าใจว่าผลกระทบที่เกิดจากรังสีเกิดขึ้นได้อย่างไร
Discovery of X-rays
แพทยได้ใช้ X-rays เพื่อหาตำแหน่งของมีดปักอย่ใูนกระดูกสันหลังของกลาสีและในที่สุดก็สามารถนามีดนั้นออกมาได้
1896 ภาพถ่ายทางรังสีของสิ่งมีชีวิตภาพแรก เป็นภาพมือของภรรยาของ W.C. RÖNTGEN
X-rays มาใช้ประโยชน์ด้านการวินิจฉัยโรคและอาการเจ็บป่วย
ผลกระทบของ X-Ray
X-rays ได้มี
รายงานว่าผู้ที่ทำางานกับรังสีมีอาการผมร่วง
เกิดโทษต่อเนื้อเยื่อ
1940's
เกิดต้อกระจก โรคโลหิตจาง มะเร็งเม็ดเลือดมะเร็งกระดูก ในคนงานที่ใช้เรเดียม (Ra-226)
เริ่มมีการป้องกัน ที่มาของวิชา radiation protection
1945's
มีการทดลองนิวเคลียร์ทำให้เกิดมลภาวะ
1960’s
เริ่มมีการใช้โรงไฟฟ้า นิวเคลียร์ โดยภาคเอกชน
มีการศึกษากัมมันตภาพรังสีในสิ่งแวดล้อม
1970’s
สหรัฐสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์เพื่อผลิตไฟฟ้า
1980's
เศรษฐกิจถดถอย การผลิตไฟฟ้าชะลอตัว ช่วงเกิดอุบัติเหตุจากโรงไฟฟ้า ถึง 2 แห่ง
ก่อตั้ง ICRP 60
มาตราวัด (Measure)
ปริมาณรังสีดูดกลืนD (Gy)
วัดปริมาณการดูดกลืนของรังสีในวัตถุตัวกลาง
Ex: D lung a = ปริมาณรังสีดูดกลืนในปอดจากพลังงานรังสีแอลฟา
ขนาดของปริมาณรังสีขึ้นอยู่กับ
ระยะเวลา
ระยะทาง จากต้นกําเนิดรังสีไปยังวัสดุที่ได้รับรังสี ยิ่งไกลยิ่งน้อย
ความเข้มข้น หรือ กัมมันตภาพ ของต้นกำเนิดรังสี
ผลทางชีวภาพของรังสีขึ้นอยู่กับ
ปริมาณรังสีดูดกลืน
และ
ชนิดของรังสี
ปริมาณรังสีสมมูล (dose equivalent) H (Sv)
เปรียบเทียบกับผลของรังสีเอกซ์และแกมมา
รังสีที่เกิดปฏิสัมพันธ์กับเนื้อเยื่อสิ่งมีชีวิต (living tissue)
สิ่งสําคัญที่ต้องพิจารณา
ได้แก่
ชนิดของรังสี
เนื่องจากปริมาณรังสีดูดกลืนไม่สามารถบอกถึงความเสียหายต่ออวัยวะได้
H = D x Radiation weighting Factor
ใช้สําหรับเป็นตัวถ่วงนํ้าหนักของ ปริมาณรังสีดูดกลืน โดยรังสีชนิดทีค่า
Wห้อย R สูงกว่า จะก่อความ
เสียหายต่อเนื้อเยื่อได้มากกว่า
ปริมาณรังสียังผล (effective dose) (Sv)
เนื้อเยื่อบางส่วนได้รับ รังสีไม่เทากัน ICRP จึงได้มีการวัด ปริมาณรังสียัง ผล
เปรียบเทียบกับผลของความเสี่ยงของอวัยวะต่าง ๆ ต่อการได้รับรังสี
ET = HT x WT
ET
=
ปริมาณรังสียังผล
ในอวัยวะหรือเนื้อเยื่อ T
HT
=
ปริมาณรังสีสมมูล
ในอวัยวะหรือเนื้อเยื่อ T
WT
=
Tissue Weighting Factor
สําหรับอวัยวะหรือเนื้อเยื่อชนิด T
การได้รับปริมาณรังสีแต่ละระดับจะมีผลต่อคนเราอย่างไร
100 mSv เสี่ยงเป็นมะเร็งในภายหลัง (5/1000)
20 mSv ปริมาณรังสีที่ได้รับเฉลี่ยต่อปี หรือ โดยเฉลี่ยในเวลา 5 ปี ตาม TLV
1 Sv เสี่ยงเป็นมะเร็งในภายหลัง (5/100)
1 mSv เป็นค่าจำกัดปริมาณรังสีต่อปีที่บุคคลทั่วไปที่ได้รับตาม ICRP
10 mSv เสี่ยงที่จะเสียชีวิตเป็นเวลาหรือสัปดาห์
:<3: ตย.การศึกษา
:<3:การเกิดการเปลี่ยนแปลง : Scope / related field
:<3: Radiation absorption / radiation Chemistry การดูดกลืนและการแผ่รังสี
:check:
:<3:nature of energy deposition in matter
:<3: quantity , unit
:<3: Radiolysis of water and reaction of free radical :check:
:red_flag: effects : sugar,protein,lipid,nucleic acid
:check: