Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรับผิดกระทำละเมิดในการ กระทำของผู้อื่น - Coggle Diagram
ความรับผิดกระทำละเมิดในการ กระทำของผู้อื่น
ความรับผิดของบิดามารดาหรือผู้อนุบาลในการกระทำละเมิดของผู้เยาว์หรือบุคคลวิกลจริตและความรับผิดของครูบาอาจารย์ นายจ้างหรือบุคคลอื่นในการกระทำละเมิดของผู้ไร้ความสามารถ
1.ความรับผิดของบิดามารดาหรือผู้อนุบาลในการทำละเมิดของคนไร้ความสามารถ
กรณีผู้วิกลจริตทำละเมิด
2.ผู้อนุบาล : บุคคลซึ่งศาลมีคำสั่งแต่งตั้งให้เป็นผู้ปกครองดูแลคนไร้ความสามารถ
3.ข้อยกเว้น ผู้อนุบาลสามารถพิสูจน์เพื่อให้พ้นจากความรับผิดได้ตาม “เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่าตนได้ ใช้ความระมัดระวังตามสมควรแก่หน้าที่ดูแลซึ่งทำอยู่นั้น”
1.ผู้วิกลจริต : บุคคลซึ่งมีอาการทางจิตผิดปกติถึงขนาดขาดความสามารถโดยสิ้นเชิงในการกำหนดเจตนาของตนเองได้อย่างอิสระ กล่าวคือผู้ที่ขาดสติสัมปชัญญะขาดความลึกขาดความรู้สำนึก หรือผู้ที่แม้รู้สำนึก แต่การแสดงเจตนาของบุคคลนั้นก็เป็นไปโดยปราศจากความสามารถไตร่ตรอง ด้วยเหตุผล
กรณีผู้เยาว์ทำละเมิด
3.บิดามารดาต้องร่วมรับผิด ในฐานะเป็นผู้ใช้อำนาจปกครอง
4.บิดามารดา ไม่รวมถึง ปู่ ย่า ตา ยาย ลุง ป้า น้า อา หรือผู้ปกครอง แต่บุคคลเหล่านี้อาจต้องรับผิดในฐานะผู้ดูแล
2.บิดามารดาต้องเป็นบิดามารกาที่ชอบด้วยกฎหมาย รวมถึงผู้รับบุตรบุญธรรมด้วย
1.ผู้เยาว์ :
5.ข้อยกเว้น บิดามารดาสามารถพิสูจน์ปฏิเสธความรับผิดได้ตาม “เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่าตนได้ใช้ความระมัดระวังตามสมควรแก่หน้าที่ดูแลซึ่งทำอยู่นั้น
6.กรณีที่บิดามารดาปล่อยให้ผู้เยาว์ไปทำละเมิด บิดามารดาอาจเป็นผู้ทำละเมิดโดยตรง ตาม ม.420 ได้ หากโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ
2.ความรับผิดของครูบาอาจารย์ นายจ้างหรือบุคคลอื่นในการทำละเมิดของผู้ไร้ความสามารถ
หลักเกณฑ์ความรับผิด
2. ผู้เยาว์หรือผู้วิกลจริตอยู่ในความดูแลของ ครูบา อาจารย์ นายจ้างบุคคลอื่นซึ่งรับดูแล
3. ผู้เยาว์หรือผู้วิกลจริตกระทาละเมิดในขณะที่อยู่ในความดูแล
1.การกระทำของผู้เยาว์หรือผู้วิกลจริตเป็นการกระทำ ละเมิดต่อบุคคลอื่น
4. ผู้เสียหายพิสูจน์ได้ว่าครูบาอาจารย์ นายจ้างบุคคลอื่น ซึ่งรับดูแล มิได้ใช้ความระมัดระวังตามสมควรในการดูแล
ความรับผิดของนายจ้างในผลแห่งการละเมิดของลูกจ้างในทางการจ้าง
1.ความรับผิดของนายจ้าง
นายจ้างรับผิดเฉพาะมูลหนี้ละเมิด
ดังนั้น ถ้ามูลหนี้ละเมิดระงับ ความรับผิดของนายจ้างย่อมระงับสิ้นไป
ความรับผิดของนายจ้างจำกัดไม่เกินกว่าลูกจ้าง
3.สิทธิไล่เบี้ย
ไล่เบี้ย: เรียกร้องเอาค่าเสียหายเป็นลำดับไปจนถึงคนสุดท้าย เมื่อนายจ้างใช้สินไหมทดแทนไปแล้วมีสิทธิได้รับชดใช้คืนจากลูกจ้างจนเต็นจำนวน (ลูกจ้างขอเฉลี่ยความรับผิดกับนายจ้างหาได้ไม่) รวมทั้งดอกเบี้ยนับวันละเมิดจนถึงวันชำระเสร็จด้วย
4.ตัวการรับผิดในการกระทำละเมิดของตัวแทน
นายจ้างต้องร่วมกันรับผิดกับลูกจ้างในผลแห่งละเมิดซึ่งลูกจ้างได้กระทำไปในทางการที่จ้างนั้น
นายจ้างซึ่งได้ใช้สินไหมทดแทนให้แก่บุคคลภายนอกเพื่อละเมิดอันลูกจ้างได้ทำนั้น ชอบที่จะได้ชดใช้จากลูกจ้างนั้น
2.ลูกจ้างทำละเมิดในทางการที่จ้าง
เหตุที่เกิดขึ้นเป็นผลจากการปฏิบัติงาน โดยจะเกิดในเวลาปฏิบัติงานหรือไม่ก็ตาม
ถ้านายจ้างมอบหมายนอกหน้าที่แล้วลูกจ้างยอมทำก็ถือว่าเป็นการทำในทางการจ้าง
ลูกจ้างทำเกินหน้าที่หรือแอบทำ แต่นายจ้างไม่ว่าหรือยินยอมโดยตรงหรือโดยปริยาย แม้ว่าลูกจ้างจะกระทำละเมิดโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อหรือทำโดยไม่สุจริต ทำฝ่าฝืนคำสั่งหรือระเบียบของนายจ้างก็เป็นในทางการจ้าง
ความรับผิดทางผู้ว่าจ้างทำของ
2.หลักความรับผิดของผู้ว่าจ้าง
ลูกจ้างกระทำละเมิดต่อบุคคลอื่น
ลูกจ้างกระทำละเมิดในระหว่างที่เป็นลูกจ้าง
ลูกจ้างกระทำละเมิดในทางการที่จ้าง
1.ความรับผิดของผู้ว่าจ้างทำของไม่เป็นความรับผิดในการกระทำของบุคคลอื่น
ผู้ว่าจ้างเป็นผู้ผิดในการเลือกหาผู้รับจ้าง
ผู้ว่าจ้างเป็นผู้ผิดในการเลือกหาผู้รับจ้าง
ผู้ว่าจ้างเป็นผู้ผิดในส่วนการงานที่สั่งให้ทำ