Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การคลอดติดไหล่ shoulder Dystocia, นางสาวพรนภา จันทร์บาง ปี4 เลขที่ 51 -…
การคลอดติดไหล่ shoulder Dystocia
ปัจจัยเสี่ยง
2.สตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเบาหวาน
3.สตรีตั้งครรภ์อ้วน-ตั้งครรภ์เกินกำหนด
1.ทารกน้ำหนักมากกว่า 3500 กรัม
4.มีประวัติคลอดติดไหล่
ผลกระทบต่อทารก
1.สายสะดือถูกกดทับ ตรงตำแหน่งระหว่างลำตัวทารกกับกระดูกช่องเชิงกราน ส่งผลให้ทารกขาดออกซิเจนหรือเสียชีวิตหากช่วยเหลือช้า
2.ทารกบาดเจ็บจากการช่วยคลอดเช่น
เส้นประสาทไขสันหลังระดับคอบาดเจ็บ
กระดูกต้นเเขน
กระดูกไหปลาร้า
คอหักหรือเคลื่อน
กล้ามเนื้อคอฉีกขาด
3.ทารกขาดออกซิเจนขณะคลอด จากการคลอดไหล่ยาก
4.ทารกเสียชีวิต จากภาวะ chromicbrain injury
Management
1.call for help
เรียกขอความช่วยเหลือจาก
สูติเเพทย์
กุมารเเพทย์
วิสัญญีเเพทย์
พยาบาล
ตลอดจนเจ้าหน้าที่อื่น
2.ให้ผู้คลอดหยุดเบ่ง
ห้ามกดบริเวณยอดมดลูก
สวนปัสสาวะ
3.ตัดหรือขยายแผลฝีเย็บให้กว้างขึ้น
ในกรณีที่ฝีเย็บแน่นมาก
4.ใช้ลูกยางแดงดูดมูกให้ทารก
จมูก
ปาก
5.ทำSuprapubic pressure
การกดบริเวณท้องน้อยเหนือหัวหน่าวในขณะที่ให้ผู้คลอดเบ่งและผู้ทำคลอดดึงศีรษะทารกลงสู่ด้านล่างด้วยความนุ่มนวลมีวิธีการกด2วิธีคือ
5.1Mazzanti maneuver
5.2Rubin maneuver
6.ทำ Mc Roberts maneuver
ให้ผู้คลอดงอสะโพกทั้งสองข้างอย่างมากในท่านอนหงายเพื่อให้ต้นขาทั้งสองข้างชิดติดกับบริเวณหน้าท้อง
7.all-fours หรือGaskinmaneuver
ให้ผู้คลอดพลิกตัวจากท่าขบนิ้วเป็นท่าคลานสี่ขา
8.squatting
ให้ผู้คลอดอยู่ในท่านั่งยองๆ
9.wood corkscrew maneuver
ผลกระทบต่อเเม่
1.กระดูกหัวเหน่าแยก
2.มดลูกแตก
3.มีการฉีกขาดของปากมดลูกช่องคลอดและฝีเย็บ
4.เกิดรูรั่วระหว่างช่องคลอดและทวารหนัก
5.มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
6.ตกเลือดหลังคลอด
7.ติดเชื้อหลังคลอด
การพยาบาล
ถ้าไหล่ยังไม่คลอดให้รายงานเเพทย์เเละเตรียมความพร้อมในการช่วยเหลือ
ตรวจสอบการฉีดขาดของหนทางของการคลอดเเละเย็บซ่อมเเซมแผลฝีเย็บ
ประเมินการคลอด
ดูแลด้านจิตใจ
หลังคลอดประเมินสภาพร่างกายทารกเเละมารดา
นางสาวพรนภา จันทร์บาง ปี4 เลขที่ 51