Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Administration of head ward - Coggle Diagram
Administration of head ward
Creative thinking
ความหมาย
พจนานุกรมศัพท์จิตวิทยา ฉบับราชบัณฑิตสถาน (2553) ได้ให้ความหมายของการคิดสร้างสรรค์ว่า หมายถึง กระบวนการคิดที่นําาไปสู่นวัตกรรม การ แก้ปัญหาหรือการสังเคราะห์ในเรื่องต่างๆ
ความสำคัญ
เป็นแรงกระตุ้นให้คนอยากคิดอยากทำ
สร้างนิสัยการเป็นนักคิด และจัดระเบียบความคิดของตนเอง
สร้างนิสัยช่างสังเกต
การับรู้ความแตกต่างของผู้อื่น และมั่นใจในสิ่งที่ตนกระทำ เนื่องจากเป็นนักคิดที่มีจุดยืนของตัวเอง
Conflict of interest
ความหมาย
สถานการณ์ความขัดแย้งหรือทับซ้อนกัน ระหว่างผลประโยชน์ส่วนตัว และผลประโยชน์ส่วนรวม และมีความเป็นไปได้ที่จะส่งผลต่อการตัดสินใจ/ดำเนินงาน/วัตถุประสงค์ จากความอคติหรือความไม่ยุติธรรมที่ประสงค์ประโยชน์หรือความได้เปรียบส่วนตัวไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม
แนวทางการจัดการประโยชน์ทับซ้อน
3.ให้การศึกษาแก่เจ้าหน้าที่และผู้บริหารระดับต่างๆ รวมถึงเผยแพร่นโยบายการจัดการผลประฏยชน์ทับซ้อนให้ทั่วถึงในองค์กร
4.ดำเนินการเป็นแบบอย่าง
2.พัฒนานโยบายที่เหมาะสม รวมถึงกลยุทธ์การจัดการและแก้ไขปัญหา
5.สื่อสารให้ผู้มีส่วนได้เสีย ผู้รับบริการ ผู้สนับสนุนองค์กร และชุมชนให้ทราบถึงการมุ่งมั่นและการจัดการผลประโยชน์ทับซ้อน
1.ระบุว่ามักมีผลประโยชน์ทับซ้อนแบบใดบ้างที่มักเกิดขึ้นในองค์กร
6.บังคับใช้นโยบายและทบทวนนโยบายสม่ำเสมอ
Motivation
ความหมาย
เพลินพิศ วิบูลย์กุล (2558) คือพลังผลักดันให้คนมีพฤติกรรม และยังกำหนดทิศทางและเป้าหมายของพฤติกรรมนั้นด้วย คนที่มีแรงจูงใจสูงจะใช้ความพยายามในการกระทำไปสู่เป้าหมายโดยไม่ลดละ แต่คนที่มีแรงจูงใจต่ำจะไม่แสดงพฤติกรรม หรือไม่ก็ล้มเลิกการกระทำก่อนบรรลุเป้าหมาย
ลักษณะของแรงจูงใจ
แรงจูงใจภายใน (intrinsic motives)
แรงจูงใจภายในเป็นสิ่งผลักดันจากภายในตัวบุคคล ซึ่งอาจจะเป็นเจตคติ ความคิดเห็น ความสนใจ ความตั้งใจ การมองเห็นคุณค่า ความพอใจ ความต้องการ ฯลฯ สิ่งต่างๆ ดังกล่าวมาเหล่านี้มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมค่อนข้างถาวร เช่น คนงานที่เห็นคุณค่าของงาน มองว่าองค์การคือสถานที่ให้ชีวิตแก่เขาและครอบครัว เขาก็จะจงรักภักดีต่อองค์การ กระทำการต่าง ๆ ให้องค์การเจริญก้าวหน้า
แรงจูงใจภายนอก (Extrinsic)
แรงจูงใจภายนอกเป็นสิ่งผลักดันภายนอกตัวบุคคลที่มากระตุ้นให้เกิดพฤติกรรม อาจจะเป็นการได้รับรางวัล เกียรติยศ ชื่อเสียง คำชม การได้รับการยอมรับ ยกย่อง ฯลฯ แรงจูงใจนี้ไม่คงทนถาวรต่อพฤติกรรม บุคคลจะแสดงพฤติกรรมเพื่อตอบสนองสิ่งจูงใจดังกล่าว เฉพาะในกรณีที่ต้องการรางวัล ต้องการเกียรติ ชื่อเสียง คำชม การยกย่อง การได้รับการยอมรับ ฯลฯ
Dicision making
ความหมาย
รังสรรค์ ประเสริฐศรี (2548: 276) ให้ความหมายว่า การตัดสินใจ (Decision Making)เป็นขั้นตอนการตดั สินใจเลือกจากทางเลือกหลายๆทางเลือกโดยมีความคาดหวังว่าจะ นําไปสู่ผลลัพธ์ที่พึงพอใจ หรือเป็นกระบวนการในการเลือกรูปแบบของการปฏิบัติ เพื่อจัดการกับ ปัญหาและโอกาสที่เกิดขึ้น
องค์ประกอบ
สถานการณ์
ประเด็นปัญหา
เวลา
ผู้ตัดสินใจ
ลักษณะการตัดสินใจ
2.ค้นหาข้อมมูล คือ วิธีการหาข้อมูลที่เก็บไว้ในส่วนความจำหรือทักษาความรู้ ข้อมูลที่ช่วยตัดสินใจจากสิ่งแวดล้อม
ต้องการการจำได้ คือ การจำได้ถึงความแตกต่างระหว่างเหตุการณ์ที่เราสนใจกับสภาวการณ์ที่ เป็นจริงที่ทกให้เรารู้สึกเพียงพอจะทำให้เกิดกระบวนการตัดสินใจ
การประเมินทางเลือก คือ การหาทางเลือกในส่วนที่ทาให้เกิดประโยชน์และข้อจากัดของ
ตัวเลือก
การเลือก คือ การเลือกทางเลือกหรือยอมรับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
ผลลัพธ์ คือ การประเมินสิ่งที่เราเลือกว่าตรงกับความต้องการหรือไม่
Problem Solving
ความหมาย
กระบวนการหรือขั้นตอนที่ผ่าน การคิด โดยอาศัยความรู้ ประสบการณ์ ในการขจัดอุปสรรค หรือปัญหาที่เกิดขึ้น เพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมาย ที่ต้องการ
ลักษณะ
2.เป็นการกระทำที่มีลำดับขั้นตอน (Sequence of operations)
เป็นการจัดกระทำด้วยความรู้คิด (Cognitive operations)
1.เป็นการกระทำที่มีจุดมุ่งหมาย (Goal directioness)
การทำเป้าหมายย่อยให้สาเร็จ (Subgoal decomposition
ข้อพึงระวังก่อนที่คิดหาแนวทางการแก้ไขปัญหา
ปัญหานั้นควรแก้หรือไม่
ตนเองมีศักยภาพในการแก้ไขหรือไม่
ความสำคัญของปัญหา
ตนเองได้รับมอบหมายให้แก้ไขปัญหานั้นหรือไม่
Critical thinking
ความหมาย
กระบวนการคิดที่ใช้เหตุใช้ผลพิจารณาไตร่ตรองอย่างรอบคอบ โดยการศึกษาข้อมูล หลักฐาน แยกแยะข้อมูลว่าข้อมูลใดคือ ข้อเท็จจริง ข้อมูลใดคือความคิดเห็น ตลอดจนพิจารณาความน่าเชื่อถือของข้อมูล แล้วตั้งสมมติฐานเพื่อหาสาเหตุของปัญหา และสามารถหาแนวทางแก้ไขปัญหานั้น ๆ ได้
ความสำคัญ
ช่วยสืบหาความจริงและสังเกตความแตกต่าง
ตัดสินจากข้อเท็จจริง
ช่วยให้เกิดการพิจารณาอย่างครบถ้วน รอบคอบ
Communication
ความหมาย
ราตรี พัฒนรังสรรค์ (2542 : 165 ) กล่าวว่า การติดต่อสื่อสาร คือ กระบวนการถ่ายทอด หรือแลกเปลี่ยนความคิด ข้อมูล ข้อเท็จจริง หรือความรู้สึกซึ่งอาจเป็นรูปของคา ตัวอักษร สัญลักษณ์ เรียกว่า ข่าวสาร บุคคลฝ่ายหนึ่งเรียกกว่า ผู้ส่งสาร ส่งไปยังบุคคลอีกฝ่ายหนึ่ง เรียก ผู้รับสาร โดยผ่านส่ือต่าง ๆ เพื่อให้บุคคลหรือกลุ่มบุคคลอื่นได้เข้าใจความหมายตามเจตนาท่ีต้องการ และช่วยป้องกันความเข้าใจผิดระหว่างกันและกันอีกด้วย
รูปแบบของการสื่อสาร
1.การติดต่อสื่อสารจากบนลงล่าง (Downward Communication) ซึ่งเป็นการติดต่อจากผู้บังคับบัญชาไปยังผู้ใต้บังคับบัญชา เป็นลักษณะของการสั่งงาน บอกเป้าหมายวัตถุประสงค์ การมอบหมาย งาน การให้ข้อมูลย้อนกลับในการทางาน (Performance Feedback) ในปัจจุบันการติดต่อจากบนมาล่างที่ผู้บริหารนิยมใช้มากคือ การประชุมงาน การจัดทา วารสารภายใน
2.การติดต่อสื่อสารจากล่างขึ้นบน (Upward Communication) เป็นการสื่อสารจาก บุคลากรไปยังผู้บริหาร เช่น การขอคาแนะนา การรายงานผลการปฏิบัติงานให้ผู้บริหารได้ทราบ ซึ่งการ สื่อสารแบบนี้มักจะสั้นและไม่ค่อยเกิดขึ้น เพราะบุคลากรไม่กล้าพอที่จะติดต่อกับผู้บริหารเพราะกลัวว่า ผู้บริหารจะประเมินตนเองว่า ไม่มีความสามารถ ไม่เก่ง หรือกลัวว่าจะได้รับผลในทางลบกลับคืนมา
3.การสื่อสารในแนวนอน (Later หรือHorizontal Communication) เป็นการสื่อสารใน แนวทางเดียวกัน กลุ่มงานเดียวกัน หรือในระดับเดียวกันจะมีความเป็นมิตร เป็นกันเอง จะช่วยให้การ ประสานงานได้ดีขึ้น ซึ่งช่วยลดเวลาการสื่อสารตามสายงาน และยังเป็นช่องทางในการสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ ใน องค์กรเพราะได้มีโอกาสรับรู้ข่าวสารข้อมูลระหว่างกันทาให้เห็นโอกาสต่างๆ มากขึ้น
รูปแบบที่head ward ควรนำมาใช้ คือ All channel เนื่องจาก head ward ต้องสื่อสารกับทุกคนภายในwardในการทำงาน ร่วมกับต้องสื่อสารกับผู้ที่มีอำนาจสูงกว่าและต่ำกว่า
Negotiation
ความหมาย
เป็นกระบวนการที่บุคคลตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไปดำเนินการแลกเปลี่ยนข้อเสนอ-สนองในเรื่องที่ต่างฝ่ายต่างมีประโยชน์ได้เสีย เพื่อแสวงหาข้อยุติ ที่ทุกฝ่ายต่างตกลงยอมรับกันได้ โดยใช้การโน้มน้าว การประนีประนอม โดยไม่ใช้พละกำลงรุนแรงเข้าบังคับกัน (สันทัดศพศิวณิช. 2551)
เกียรติศักดิ์ วัฒนศักดิ์. (2553).การเจรจาต่อรอง (Negotiation) สืบค้นเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2565 จาก
https://www.bu.ac.th
ลักษณะการเจราต่อรองที่ดี
อารมณ์มั่นคง หนักแน่น
มีความสามารถด้านศิลปะการสื่อสาร
มั่นใจในตนเอง
รับฟังผู้อื่น
ถ้าหัวหน้าวอร์ดมีทักษะดังกล่าวจะเกิดประโยชน์ต่อหัวหน้าวอร์ดดังนี้
เป็นแนวทางในการพัฒนาทักษการพูดของตนเอง
2.ใช้แก้ไขปัญหาในการทำงาน
3.นำไปใช้เจรจากับผู้ร่วมงานทุกคนเพื่อให้ทุกฝ่ายหด้รับความเท่าเทียม
Coordination
บทบาทการประสานงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยกับหน่วยงานอื่น
ประสานงานกับหัวหน้า เจ้าหน้าที่องค์กรอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ผู้บริหารฝ่ายการพยาบาล ผู้ตรวจการและหัวหน้าหอผู้ป่วย
ประสานงานกับเจ้าหน้าที่ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อหรือส่วนราชการต่างๆเพื่อให้เกิดความร่วมมือ
1.ประสานงานกับผู้บริหารระดับสูงของฝ่ายต่างๆ ในโรงพยาบาล
3.ประสานงานกับบุคลากรในทีมสุขภาพ เช่น แพทย์ เภสัช นักกายภาพบำบัด นักโภชนาการ
ผู้ประสานงานการดำเนินงานบริการพยาบาลทุกรูปแบบ
ให้ข้อคิดเห็นและเป็นที่ปรึกษาหรือให้คำแนะนำแก่หน่วยงานหรือสำนักงานต่าง ๆ
การนำทักษะการประสานงานมาประยุกต์ใช้กับวอร์ด
ช่วยให้การทำงานบรรลุเป้าหมายได้อย่างราบรื่น ทุกคนในหน่วยงานมีความเข้าใจในหน่วยงานและวัตถุประสงค์ของงานได้ดียิ่งขึ้น ทำให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ลดการขัดแย้งในการทำงาน ลดการทำงานซ้ำซ้อน และสร้างความรับผิดชอบ