Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การคลอดไหล่ยาก Shoulder Dystocia, image ‘turtle sign’, image, image,…
การคลอดไหล่ยาก
Shoulder Dystocia
ปัจจัยเสี่ยง
มีประวัติคลอดไหล่ยากมาก่อนให้ครรภ์ที่แล้ว
ทารกตัวใหญ่ น้ำหนัก > 4,000 กรัม
การคลอดเร็วเกินไป
มารดาตั้งครรภ์ที่มีภาวะเบาหวาน
มารดาที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ BMI ≥ 30 kg/m2
การใช้สูติศาสตร์หัตถการช่วยคลอด
ความก้าวหน้าของการคลอดผิดปกติ
มารดาที่ผ่านการคลอดมาหลายครั้ง
ตั้งครรภ์เกินกำหนด
อาการและอาการแสดง
ภายหลังจากที่ศีรษะทารกคลอดออกมาแล้ว ศีรษะทารกจะมี
ลักษณะหดสั้นเข้าไปชิดกับช่องทางคลอดคล้ายคอเต่า ‘turtle sign’ โดยไหล่ของทารกไม่สามารทำคลอดไหล่ของทารกได้
เทคนิคการจัดการเมื่อเกิดภาวะคลอดไหล่ยาก
The HELPERR mnemonic
R = Removal of the Posterior Arm หากยังไม่สำเร็จ จะใช้วิธีการทำคลอดไหล่หลังก่อน โดยผู้ทำคลอดสอดนิ้วมือไปใน ช่องทางคลอดตำแหน่งที่ 6 นาฬิกา แล้วกดบริเวณข้อศอกของแขนหลังงอข้อศอก แล้วจับข้อมือของทารกแรกเกิดดึงออกมาผ่านทางหน้าอกในแนวเฉียง
R = Roll การหมุนเปลี่ยนท่าของผู้คลอด ในกรณีที่ทำหลายวิธีแล้วยังไม่สำเร็0 และผู้คลอดสามารถให้ความร่วมมือได้ คือ All-fours
position (Gaskin maneuver) โดยการจัดท่าผู้คลอดเอามือทั้ง2ข้างขันพื้นและคุกเข่าทั้ง2 ข้างทำให้เกิดการเคลื่อนต่ำของไหล่หลังและให้ผู้คลอดเบ่งคลอด พร้อมกับผู้ทำคลอดดึงศีรษะทารกแรกเกิดลงด้านล่างทำคลอดไหล่หลังก่อน
E = Enter การทำหัตถการหมุนไหล่ภายในประกอบด้วย Rubin maneuver, Wood screw maneuver และ Reverse Wood screw maneuver เพื่อผลักไหล่ของทารกให้อยู่ในแนวเฉียงที่มีขนาดใหญ่ของกระดูกเชิงกราน และใต้กระดูกหัวเหน่า
P = Pressure ถ้าใช้ McRoberts maneuver แล้วยังไม่ได้ผล จะใช้วิธีการกดหัวเหน่า (Suprapubic compression หรือ Suprapubic pressure) ร่วมด้วย โดยมีผู้ช่วย 1 คนใช้มือวางบริเวณเหนือหัวเหน่าตรงไหล่หน้า แล้วกดลงไปทางด้านหลังและลงข้างล่าง พร้อมกับผู้ทำคลอดดึงศีรษะทารกลงข้างล่างจะช่วยให้ไหล่หน้าผ่านใต้กระดูกหัวเหน่าออกมาได้
L = Legsการชวยเหลือขั้นต้นด้วย McRoberts (McRoberts maneuver) โดยการให้มารดาใช้มือจับบริเวณใต้ข้อพับเข่า
แล้วดึงขาเข้ามาให้ชิดหน้าท้อง พร้อมกับเบ่งลมเต็มที่ในขณะที่มดลูกหดรัดตัว
E = Evaluation for Episiotomy การพิจารณาตัดฝีเย็บเมื่อมีความจำเป็นต้องทำหัตถการในการช่วยคลอด
H = Call for Help ควรขอความช่วยเหลือ โดยการสติให้ดีอยาตกใจแล้วตามทีมแพทย์
เป็นภาวะที่ภายหลังศีรษะทารกคลอดออกมาแล้ว บริเวณไหล่มีการติดแน่นที่บริเวณใต้รอยต่อกระดูกหัวเหน่า ทำให้ไม่สามารถคลอดส่วนของลำตัวทารกได้ตามวิธีการช่วยคลอดปกติ
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะแทรกซ้อนต่อทารก
กระดูกไหล่/ไหปลาร้า/ต้นแขนหัก
มีภาวะขาดออกซิเจน
บาดเจ็บต่อ brachial plexus
มีโอกาสตายคลอด/ตายหลังคลอดได้มากขึ้น
ภาวะแทรกซ้อนต่อมารดา
ระยะเรื้อรัง
อาจเกิดรูทะลุระหว่างช่องคลอดกับท่อปัสสาวะ จากการที่ไหล่ของทารกไปกดท่อปัสสาวะเป็นเวลานาน ทำใหเกิดการตายของเนื้อเยื่อ
กระบงลมหย่อน จากการคลอดที่ยาวนาน ทำใหกล้ามเนื้อกระบั้งลมยืดขยายนาน และการฉีกขาดของช่องทางคลอดที่มากกว่าปกติ
ระยะเฉียบพลัน
อาจเกิดการติดเชื้อได้ง่าย จากหัตถการช่วยคลอด ระยะเวลาการคลอดยาวนานและการฉีกขาดของช่องทางคลอด
อาจเกิดภาวะตกเลือดหลังคลอดได้มากกว่าปกติ
มารดาจะเกิดความเครียดและอ่อนล้า
‘turtle sign’
Rubin maneuver ใช้ช ื นิ้วมือข้างที่ถนัดสอดไปด้านหลังไหล่หน้าของทารก และผลักไหล่ไปทางด้านหน้าทารกจะอยู่ในแนวเฉียง
Wood screw maneuver ใช้เมื่อทำวิธี Rubin ไม่สำเร็จ โดยการสอดนิ้วมืออีกข้างไปทางด้าน
หน้าของไหล่หลังของทารกแล้วผลักไหล่หน้าไปทางด้านหน้าและผลักไหล่หลังไปทางด้านหลัง
Reverse Wood screw mancuver เมื่อใช้ทั้งสองวิธีแล้วไม่สามารถผลักทารกแรกเกิดได้ ให้ใช้นิ้มือข้างที่ถนัดสอดไปทางด้านหลังของไหล่หลังของทารก แรกเกิดไปทางด้านหน้า
พิชญานิน นิสภา เลขที่ 57 ปี 4
(62111301059)