Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปการเรียนรู้ครั้งที่4 - Coggle Diagram
สรุปการเรียนรู้ครั้งที่4
Head injury
กลไกการบาดเจ็บที่ศีรษะ
1.การบาดเจ็บโดยตรง
-บาดเจ็บที่เกิดขึ้นขณะศึรษะอยู่นิ่ง เช่น การถูกตี ถูกยิง
-บาดเจ็บที่เกิดขึ้นขณะศึรษะเคลื่อนที่ เช่น อุบัติเหตุขณะขับขี่
2.การบาดเจ็บโดยอ้อม เช่น การตกจากที่สูง การเคลื่อนไหวของลำตัวอย่างรวดเร็ว
พยาธิสรีรภาพ
1.บาดเจ็บที่ศีรษะระยะแรกทำให้เกิดอันตรายต่อหนังศีรษะ กะโหลกศีรษะ สมอง
2.บาดเจ็บที่ศีรษะระยะที่2 มีการเกิดก้อนเลือดภานในโพรงกะโหลกศีรษะ
อาการผิดปกติ
1.ง่วงซึมมากกว่าเดิมหรือหมดสติ
2.กระสับกระส่ายมาก
3.กำลังของแขนขาลดน้อยลง
4.ชีพจรเต้นช้ามาก
5.คลื่นไส้มาก
6.ปวดศีรษะรุนแรง
7.มีเลือดใสๆไหลออกจากหู
8.คอแข็ง
9.วิงเวียนมาก
การพยาบาล
1.ติดตามสัญญาณชีพ
2.ติดตามดูการหายใจ
3.เฝ้าระวังอย่าให้มีไข้
4.ดูแล drain ทำความสะอาด record ปริมาณ fluid และประเมินสี
5.ติดตามดูอาการสัญญาณทางระบบประสาท
6.ประเมิน motor power / sensory
7.เฝ้าระวังภาวะ aspiration เมื่อเริ่ม step diet
8.จัดหัวสูง 30 องศา
9.ให้ยาแก้ปวด ยาแก้อาเจียน ยากันชัก ยาลดสมองบวม
10.ติดตามผล lab ต่างๆ
Chest injury
-
Tension Preumothorax
อาการและอาการแสดง
- เจ็บแน่นหน้าอก
- หายใจ Air hunqer
- มีภาวะ Respiratory distress
- ชีพจรเต้นเร็ว
- ความดันโลหิตต่ำ
- Neck vein distention
- หลอดลมโดนดันไปด้านตรงข้ามของปอดที่มีปัญหา
- เสียงปอดลดลงในด้านที่เป็น tension pneomothorax
- หน้าอกด้านที่เป็น tension pneomothorax ยกสูง
-
-
Air Embolism
เกิดจากการบาดเจ็บของหลอดลมร่วมกับ pulmonary vein มักพบใน penetrating injury ผู้ป่วยเกิด systemic air embolism เกิดอาการ Stroke,MI ,ARF ได้
การรักษาทำได้โดยการทำERT เพื่อทำ Hilar clampingและ เจาะลมออกจากหัวใจ ห้องซ้ายและ ascending aorta ทำ internal cardiac massage
-
Spinal injury
การซักประวัติ
1.ปวดตึงต้นคอ
2.ความรู้สึกที่แขนขาลดลง
3.ปวดหลังตามแนวกึ่งกลางกระดูกสันหลัง
4.ปวดมากขึ้นเมื่อมีการขยับเคลื่อนไหวร่างกาย
5.รู้สึกเหมือนมีกระแสไฟฟ้าวิ่งตามลำตัวแขนขา
6.ความดันโลหิตต่ำร่วมกับชีพจรช้า
7.มีบาดเจ็บที่ใบหน้าอย่างรุนแรง
การตรวจร่างกาย
1.Vital sign
2.Head and Face
ดู -บาดแผลชนิดบาดแผล และรอยบวม
คลำ- บริเวณที่มีอาการปวด
การขยับ -มีอาการปวดร่วมด้วยหรือไม่ ขยับได้เองหรือไม่
3.กระดูกสันหลังส่วนคอ (cervical spine)
ดู -บาดแผลชนิดบาดแผล และรอยบวม รอยช้ำทั้งหน้าและหลังคอ
การคลำ – ในท่านอนหงาย เอามือสอดต้ำลำคอ หาตำแหน่งเจ็บ
การขยับ - ให้ผู้ป่วยทำ active motion ซ้าย-ขวา และยกคอ
- หน้าอก (chest) และท้อง (abdomen)
ดู - ถ้ามีรอยช้ำที่หน้าอกและท้อง ให้สงสัย โดยประเมิน ร่วมกับการขยับได้ของแขนขา
- กระดูกสันหลังส่วนอกและส่วนเอว (thoracolumbar spine)
ดู –บาดแผลชนิดบาดแผลและรอยบวม รอยช้ำ
-
-
-