Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Lymphatic system and Hemopoietic tissue, สร้างเม็ดเลือดแดง,…
Lymphatic system
and Hemopoietic tissue
Lymphatic system
Functions
รักษาสมดุลสารน้ำ
ลำเลียงสารอาหารประเภทไขมันและวิตามิน A D E
Main function
Primary or central lymphoid organs
Secondary or peripheral lymphoid tissue
ประกอบไปด้วย
Lymphatic vessels (ท่อลำเลียงน้ำเหลือง)
แบ่งเป็น 3 ระดับ
Lymphatic capillaries
มีปลาย 2 ด้าน โดยด้านหนึ่งเป็นท่อปลายตัน
บริเวณ jejunum มีชื่อเฉพาะเรียกว่า Lecteal ทำหน้าที่ลำเลียงสารอาหารจำพวกไขมัน
Endothelial junction เชื่อมต่อกันอย่างหลวมๆ
Collecting lymph vessels
Tunica intima
บุด้วย endothelial
มี semilunar valves
Tunica media
smooth muscle และ elastic fiber
Tunica adventitia
collagen fibers และ elastic fibers
Lymphatic trunk
Lymphatic duct
Tunica adventitia
มี vasa vasorum
Tunica media
มีการเรียงตัวทั้งแบบ longitudinal and circlar
Tunica intima
มีชั้น internal elastic lamina
Lymphatic tissues and lymphatic organs
Lymphatic tissues
Reticular CNT
Reticular fibers
Reticular cells
รูปแบบของ lymphoid tissue
Diffuse lymphoid tissues
พบได้ตามชั้นใต้ผิวหนัง หรือตามเยื่อบุทางเดินอาหาร ทางเดินหายใจ และใน lymphoid organs
Lymph (lymphatic) follicles or nodules
lymphoid ที่อยู่รวมกันเป็นก้อนกลม
แบ่งได้เป็น 2 ชนิด
Solitary lymphoid follicle
อยู่เป็นก้อนเดี่ยว เช่น cecum, appendix
Aggregated lymphoid follicle
อยู่รวมกันหลายๆก้อน พบได้ตาม lymph node, tonsil, spleen,ส่วน ileum จะมีชื่อเฉพาะ เรียก Peyer’s patches
Type of lymphoid follicle
Pimary lymphoid follicle
เป็นกลุ่มที่ยังไม่ถูกกระตุ้นด้วย antigen
Secondary lymphoid
ถูกกระตุ้นด้วย antigen จะเกิดการเปลี่ยนแปลง
บริเวณขอบด้านนอกติดสีเข้ม เรียก peripheral area
และบริเวณด้านในติดสีจาง เรียก germinal center
Lymphatic organs
การทำงาน
แบ่งตามการถูกห่อหุ้ม
Non-encapsulated lymphatic tissue
ไม่มี capsule มาหุ้ม ได้แก่ MALT
Partially encapsulated lymphatic tissue
มี capsule มาหุ้มบางส่วน ได้แก่ tonsil
Completely encapsulated lymphatic tissue
มี capsule มาหุ้มอย่าสมบูรณ์ ได้แก่ lymp nodes, thymus, spleen
แบ่งตามหน้าที่การทำงาน
Secondary/effector lymphoid organs and tissues
เป็นบริเวณที่เกิดการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน เมื่อมีสิ่งแปลกปลอมเข้าร่างกาย ได้แก่ lymph node, spleen, tonsil, MALT, BALT, GALT
Primary lymphoid organs
เป็น stem cells ที่จะพัฒนาไปเป็น T และ B-lymphocytes ได้แก่ bone marrow, thymus gland
อวัยวะน้ำเหลือง
Lymph node
ความสำคัญทางคลินิค
Axillary lymph nodes
บริเวณรักแร้ รับน้ำเหลืองจากแขนและส่วนบนของทรวงอกรวมถึงเต้านม
Inguinal lymph nodes
บริเวณขาหนีบ รับน้ำเหลืองจากขาและอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
Cervical lymph nodes
บริเวณคอ รับน้ำเหลืองจากศรีษะและลำคอ
Histology
Capsule
Dense irregularly arrange collagenous CNT
Parenchyma
Cortex
2 more items...
Medulla
2 more items...
Subcapsular sinus
1 more item...
Paratrabecula sinus
1 more item...
Thymus
เจริญเติบโตสุดก่อนอายุ 2 ปี อยู่หลั่งต่อsternum และด้านหน้าของหัวใจช่วงบน
Histology
Cortex
ไม่มี lymph follicles
Medulla
หลวมๆ ติดสีจาง
Hassall's corpuscles
เกิดจากการทับถมของ degenerated epithelial reticular cells
Spleen
Functions
กรองเลือด
สร้างภูมิคุ้มกันให้กับร่างกาย
ทำลาย RBC และ platelet
เก็บสำรองเลือก
Histology
White pulp
ติดสีเข้ม
Diffuse lymphoid tissue
Lymphatic nodule
Red pulp
ติดสีจางล้อมรอบ white pulp
Tonsils
กลุ่มของต่อมน้ำเหลือง ที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับระบบภูมิคุ้มกัน
Lingual tonsil
Pharyngeal tonsil
Palatine tonsil
ถูกคลุมด้วย stratified squamous epithelium non-keratinized type
Tubal tonsil
Lymph
Hemopoietic tissue
2 ชนิด
Myeloid tissue
Bone marrow (ไขกระดูก)
พบ: โพรงกระดูก (กระดูกยาว), ช่องว่างของ spongy bone(กระดูกแบน)
2 Types
Red bone marrow
พบ: flat bone และส่วนปลาย long bone
Yellow bone marrow
พบ: medullary cavity
Lymphatic tissue
Lymph node
Thymus gland
Spleen (ม้าม)
สร้างและเจริญของเม็ดเลือด
Hematopoiesis(กระบวนการสร้างเม็ดเลือด)
Hepatic phase
อาทิตย์ที่ 4-5
Bone marrow phase
ตั้งแต่เดือนที่ 5 ไปจนถึงการเจริญเติบโต
Yolk-sac phase
การตั้งครรภ์ 3 สัปดาห์
3 ระยะ
Hematopoiesis
Common myeloid progenitor
Erythrocyte
Megakaryocyte
Histology
multinucleated cell
Myeloblast
Granulocyte
Eosinophil
2-5%
หลั่งเอนไซม์ หรือสาร histamine เพื่อทำลายพยาธิ
Histology
Cytoplasmic granules ติดสีส้มแดง
นิวเคลียสมี 2 lobes ติดกัน
Basophil
น้อยกว่า 1%
พบน้อยในกระแสเลือด และมีบทบาทเกี่ยวกับภูมิแพ้
ในเนื้อเยื่อเรียกว่า "Mast cell"
Histology
นิวเคลียสมี 2 lobes และมองไม่ค่อยเห็นนิวเคลียส
Neutrophil
ด่านแรกของการตอบสนองของภูมิคุ้มกัน
แสดงออกในรูแบบของ "หนอง"
Histology
นิวเคลียสมีมากกว่า 2 lobes
Cytoplasmic granules 3 ชนิด
2.เป็น azurophilic granule ติดสีม่วงเข้ม
3.มี enzyme phosphatase, gelatinase และcollagenase
1.ขนาดเล็ก
Agranulocyte
Monocyte
จับกินสิ่งแปลกปลอม
ใหญ่สุด
Histology
นิวเคลียสมีรูปร่างเหมือนเม็ดถั่ว ไต หรือเกือกม้า
eccentric nucleus
Common lymphoid progenitor
Natural killer cell
Small lymphocyte: Agranulocyte
T-lymphocyte
ชี้เป้า เมื่อมีสิ่งแปลกปลอม
B-lymphocyte
Plasma cell
เปลี่ยนแปลงมาจาก B-cell
พบ: บริเวณที่มีการอักเสบ
สร้างโปรตีน antibody
องค์ประกอบของเลือด
Platelets (เกล็ดเลือด)
ต้นกำเนิดในไขกระดูก
White Blood Cells
Leukocytes
เซลล์แท้จริง มี nucleus และ organelle และมีรูปร่างไม่แน่นอน
2 Types
Granulocyte
Agranulocyte
Red Blood Cells
เมื่อเจริญเต็มที่จะไม่มี nucleus และ organelle
90% ทำลายที่ macrophage, bone marrow, spleen 10% ทำลายที่กระแสเลือด
Blood
Plasma (น้ำเลือด) 55%
Blood cells (เม็ดเลือดเลือด) 5%
สร้างเม็ดเลือดแดง
สร้างเม็ดเลือดขาว
มากสุด 99%
เยอะสุด 50-70%
thymic corpuscle
อ้างอิง: AP-Lymphatic System and Hemopoietic Tissue (Asst. Prof. Narawadee Choompoo, PhD)
: หนังสือคู่มือปฏิบัติการจุลกายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์
กลุ่มที่ 16
64522874 นางสาวฟ้าพราว แก้วหน่อ เลขที่ 31
64522898 นางสาวภัคจิรา อินตลาดชุม เลขที่ 32