Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Administration of Head Ward - Coggle Diagram
Administration of Head Ward
Creative thinking
ความหมาย
สุนทภรณ์ ทองไสย. (2559) ให้ความหมายว่า ความคิดสร้างสรรค์ภายใต้แนวคิดของการบริหารขององศ์การได้ดังนี้คือความคิดสร้างสรรค์เป็นความสามารถส่วนบุคคลที่เกิดจากการจินตนาการทางความคิดมากกว่าเหตุผล เป็นความคิดที่แตกต่างจากความคิดเดิม เพื่อการพัฒนาให้เกิดผลผลิตใหม่ เกิดประโยชน์มากขึ้น สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาและเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในเรื่องต่างๆ
ความสำคัญ
สร้างอุปนิสัยช่างสังเกต
สร้างอุปนิสัยเป็นนักคิด และจัดระเบียบความคิดของตนได้
3.การมีประสบการณ์ทั้งโดยตรงและโดยอ้อมอย่างเพียงพอ
มองโลกในแง่ดีเพราะความคิดสร้างสรรค์อยู่บนพื้นฐานของความดีงาม
การรับรู้ในความแตกต่างกันของมนุษย์และรู้จักมองตนเองให้รู้แจ้งเพราะทำให้เป็นนักคิดที่มีจุดยืน แน่นอน มีความมั่นใจในจุดที่ตนเองได้กระทํา
Critical thinking
ความหมาย
ทักษะการคิดวิเคราะห์ (Critical Thinking Skills) ซึ่งเป็นทักษะที่มี ความจำเป็นอย่างมากในสังคมโลกปัจจุบันที่มีการแข่งขันสูงทั้งทางด้านเศรษฐกิจ การเมืองและสังคม เนื่องจากการคิดวิเคราะห์เป็นทักษะท่ีสำคัญสำหรับการแก้ปัญหา การค้นคว้าหาข้อมูล และการค้นพบ สิ่งใหม่ๆ (Thompson, 2011)
ความสำคัญ
1.ช่วยให้สืบค้นความจริง และช่วยสังเกตความแตกต่าง
2.ช่วยค้นหาความถูกต้อง
3.ช่วยให้ตัดสินตามข้อเท็จจริงไม่ใช่ตามอารมณ์ความรู้สึก
4.ช่วยให้เกิดการพัฒนาและพิจารณาอย่าง ครบถ้วนและเป็นจุดเริ่มต้นของความคิดสร้างสรรค์
Decision- making
ความหมาย
การตัดสินใจ คือ ผลสรุปหรือผลขั้นสุดท้ายของกระบวนการคิดอย่างมีเหตุผลเพื่อเลือกแนวทางการปฏิบัติที่ถูกต้องเหมาะสมกับสถานการณ์ ทรัพยากร และบุคคล สามารถนำไปปฏิบัติและทำให้งานบรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์ตามที่ต้องการ
องค์ประกอบ
เวลา
สถานการณ์
สภาพแวดล้อม
ประเด็นปัญหา
5.ผู้ตัดสินใจ
ลักษณะของการตัดสินใจ
การตัดสินใจเป็นกระบวนการของการเปรียบเทียบผลตอบแทนหรือผลประโยชน์ที่จะได้
การตัดสินใจเป็นหน้าที่ที่จำเป็น เพราะทรัพยากรมีจำกัด และมนุษย์มีความต้องการไม่จำกัด จึงจำเป็นต้องมีการตัดสินใจ เพื่อให้ได้รับประโยชน์และ ความพอใจ
การทำงานขัดแย้งกัน ผู้บริหารจึงต้องเป็นผู้ตัดสินใจชี้ขาด เพื่อให้บรรลุเป้าหมายขององค์การโดยส่วนรวม
4.กระบวนการตัดสินใจกระบวนการตัดสินใจประกอบด้วย2ส่วนคือ ส่วนแรกที่เป็นเรื่องเกี่ยวกับการกำหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ข้อจำกัด การกำหนดทางเลือก ส่วนที่สอง เป็นการเลือกทางเลือกหรือกลยุทธ์ที่ดีที่สุดตามสถานการณ์
การตัดสินใจมีหลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับจุดมุ่งหมายและลักษณะของปัญหา
Motivation
ประเภท
Extrinsic motivation : ใช้สิ่งเร้าจากภายนอก เช่น ผลตอบแทน รางวัล เงินเดือน
Intrinsic motivation : เกิดขึ้นที่ตัวบุคคล
เช่น ความต้องการชื่อเสียง อำนาจ
กระบวนการจูงใจ
Needs : ความต้องการทางกาย จิต และสังคม
Drives : ตัวเสริมกำลังไปสู่เป้าหมาย
Goals : จุดเป้าหมาย
ความสำคัญ
Head ward จำเป็นต้องใช้การจูงใจเพื่อให้ผู้ตามร่วมมือร่วมใจในการปฏิบัติงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร ซึ่ง Head ward จะต้องเข้าใจถึงความต้องการและแรงจูงใจของผู้ตามอย่างเพียงพอ
Coordination
บทบาทการประสานงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยกับหน่วยงานอื่น
1.ประสานงานกับผู้บริหารระดับสูงของฝ่ายต่างๆ ในโรงพยาบาล
ประสานงานกับหัวหน้า เจ้าหน้าที่องค์กรอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
ผู้บริหารฝ่ายการพยาบาล ผู้ตรวจการและหัวหน้าหอผู้ป่วย
3.ประสานงานกับบุคลากรในทีมสุขภาพ เช่น แพทย์ เภสัช
นักกายภาพบำบัด นักโภชนาการ
4.ให้ข้อคิดเห็นและเป็นที่ปรึกษาหรือให้คำแนะนำ
แก่หน่วยงานหรือสำนักงานต่าง ๆ
ผู้ประสานงานการดำเนินงานบริการพยาบาลทุกรูปแบบ
Communication
ความหมาย
การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ : ต้องเข้าใจได้ เชื่อถือได้ ยอมรับได้ และปฏิบัติได้ และต้องมีความจริงใจ เชื่อมั่น มีระบบการสื่อสารที่ดีทั้งองค์กร และช่องทางในการสื่อสาระสะดวกทั้ง 2 ฝ่าย และต้องมีองค์ประกอบที่สำคัญ คือ ผู้ส่งสาร ,สาร และผู้รับสาร โดยใช้ช่องทางกลางในการสื่อสาร
รูปแบบของการสื่อสาร
Chain : เส้นตรง
แนวดิ่ง/บนล่าง : เป็นการนำเสนอผู้มีอำนาจ
แนวระนาบ : เป็นการแจ้งในระดับเดียวกัน
Wheel : วงล้อ
สื่อสารแบบกระจายรอบทิศทาง
Circle : วงกลม
การสื่อสารให้รู้ทั่วกัน
All channel : ทุกช่องทาง
สามารถติดต่อได้ทุกมิติ
Problem solving
ความหมาย
กระบวนการหรือขั้นตอนที่ผ่าน การคิด โดยอาศัยความรู้ ประสบการณ์ ในการขจัดอุปสรรค หรือปัญหาที่เกิดขึ้น เพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมาย ที่ต้องการ
ลักษณะของ problem solving
1.เป็นการกระทำที่มีจุดมุ่งหมาย (Goal directioness)
2.เป็นการกระทำที่มีลำดับขั้นตอน
(Sequence of operations)
เป็นการจัดกระทำด้วยความรู้คิด
(Cognitive operations)
การทำเป้าหมายย่อยให้สาเร็จ
(Subgoal decomposition
Conflict of interest
ความหมาย
เป็นสถานการณ์ที่บุคคลผู้ดำรงตำแหน่งอันเป็นที่ไว้ใจเกิดความขัดแย้งขึ้นระหว่างผลประโยชน์ส่วนตัวกับผลประโยชน์ทางวิชาชีพ อันส่งผลให้เกิดปัญหาที่เขาไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างเป็นกลาง อาจส่งผลให้เกิดความไม่ไว้วางใจที่มีต่อบุคคลนั้น
สาเหตุ
1.ความขัดแย้งภายในตัวบุค
2.ความขัดแย้งระหว่างบุคคล
3.ความขัดแย้งภายในกลุ่ม
4.ความขัดแย้งระหว่างกลุ่ม
5.การขัดแย้งภายในองค์กร
6.ความขัดแย้งระหว่างองค์กร
แนวทางการจัดการความขัดแย้ง
Accommodating การปรองดอง
เป็นการบริหารความขัดแย้งที่มีฝ่ายหนึ่งต้องยอมเสียสละหรือลดความต้องการของตัวเองลง
ข้อดี – ใช้แก้ปัญหาเล็ก ๆ ในระยะเวลารวดเร็วและง่ายดาย โดยใช้ความพยายามน้อยที่สุด
ข้อเสีย – ถ้าใช้บ่อยเกินไปอาจนำไปสู่ปัญหาที่ใหญ่กว่า
Avoiding การหลีกเลี่ยง ใช้วิธีนิ่งเฉยสยบปัญหาโดยไม่ตอบโต้และไม่ตอบสนองอะไร
ข้อดี – ผู้สร้างปัญหาอาจเกิดตระหนักรู้จนแก้ปัญหาได้เอง
ข้อเสีย – ถ้าใช้ในสถานการณ์ที่ไม่ถูกต้อง ส่งผลให้เกิดปัญหาร้ายแรงตามมา
Compromising การประนีประนอม หาจุดร่วมความพึงพอใจของทั้งสองฝ่าย (Win-Win)
ข้อดี – ต่างฝ่ายต่างเข้าอกเข้าใจกันมากขึ้น มองเห็นความต้องการใหม่ในทิศทางเดียวกัน
ข้อเสีย – ไม่มีใครได้ความสุขสมบูรณ์แบบ เพราะต้องลดความต้องการของตัวเองลง
Competing การแข่งขัน ตรงข้ามกับการประนีประนอมอย่างสิ้นเชิง คือการเปิดโอกาสให้คู่ขัดแย้งแสดงออกมาถึงความต้องการ
ข้อดี – แก้ปัญหาได้รวดเร็วและแทบจะจบปัญหาได้ทันที
ข้อเสีย – อาจไม่ใช่วิธีการแก้ปัญหาที่ดีที่สุด ผู้แพ้อาจสูญเสียกำลังใจหรือไม่ยอมรับผลการแข่งขัน
Collaborating การให้ความร่วมมือ
เป็นการบริหารความขัดแย้งที่แก้ปัญหาได้อย่างระยะยาว โดยการเปิดโอกาสให้ทั้งสองฝ่ายพูดคุยและสื่อสารกันอย่างจริงใจ
ข้อดี – ทุกคนแฮปปี้ และมีวิธีการแก้ไขปัญหาที่สร้างความพึงพอใจทั้งสองฝ่ายได้
ข้อเสีย – ใช้ระยะเวลานาน จนบางครั้งปัญหาทวีความรุนแรงยิ่งกว่าเดิม
Negotiations
ความสำคัญ
เพื่อทำข้อตกลงร่วมกันในการอยู่ร่วมกัน การทำงานร่วมกัน เพื่อแก้ไขปัญหาและยุติความขัดแย้ง ลดความรุนแรงของปัญหา
เพื่อผลประโยชน์ร่วมกัน
ลักษณะผู้มีการเจรจาต่อรองที่ดี
1.มีลักษณะเด่นด้านบุคลิกลักษณะ มั่นใจในตัวเอง
2.มีลักษณะเด่นด้านอารมณ์ มั่คง หนักแน่น
3.มีลักษณะเด่นด้านนิสัย มีความสัมพันธ์กับความรู้สึกนึกคิดอย่างแนบแน่น
4.มีลักษณะเด่นด้านความสามารถในการสื่อสารยอดเยี่ยม
5.มีลักษณะเด่นด้านการเป็นผู้ฟังที่ดี
นำมาประยุกต์กับหัวหน้าวอร์ด
เป็นแนวทางในการพัฒนาตนเอง ให้เป็นนักเจรจาที่ดี และสามารถเจรจาได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
2.นำมาใชเ้พื่อแก้ปัญหาความขัดแย้งในการทางานและเพื่อรักษาความสัมพันธ์ ของเพื่อนร่วมงานทุกระดับ
นำมาใช้เพื่อให้ผู้ร่วมงานทุกระดับมีความพอใจ กรณีที่ต้องมีการเจรจาต่อรอง เพื่อให้ผู้ร่วมงานทุกระดับได้รับผลประประโยชน์
นาไปใช้กับหน่วยงานต่างๆ หรือเครือข่ายต่างๆ ที่ต้องดำเนินงานร่วมกัน