Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงเทคโฯโลยีสารสนเทศ - Coggle Diagram
บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงเทคโฯโลยีสารสนเทศ
1.การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีสารสนเทศ
ยุคดิจิทัล
1.digital 1.0 ยุคอินเทอร์เน็ต เริ่มต้นประมาณ ค.ศ.1984 ยุคเริ่มต้นของอินเทอร์เน็ต มีการเปลี่ยนแปลงการดำเนินชีวิตในลักษณะออฟไลน์ เช่น การส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การติดต่อสื่อสารที่รวดเร็ว เกิดเว็บไซต์ ที่ทำให้ผู้ใช้งาน สามารถเผยแพร่และเข้าถึง ข้อมูลได้สะดวกและรวดเร็วเกิดการธุระกรรมเชิงพาณิชย์
2.Digital 2.0 ยุคโซเซีลมีเดีย เริ่มต้น ใน ค.ศ.2000 จากจุดเริ่มต้นของโซเซียลมีเดียคือสารร่วมเพื่อนในสังคมออฟไลน์มาสู่ออนไลน์ และขยายพฤติกรรมการใช้งานในยูคคอนซูเมอร์ใช้โซเซียลเน็ตเวิร์คเป็นสื่อหลักในการสื่อสาร จากการที่โซเซียลมีเดียเข้ามาอยู่ในมือถือ ในยุคที่เป็นยุคของนักธุระกิจมองเป็นเครื่องมือในการวัดผลที่ลวดเร็ว และเห็นในทิศทางอำนาจต่อรองย้ายมาที่ผู้บริโภค จากอิทธิพลของโซเซียลมีเดียที่เปลี่ยนให็ผู้บริโภคเป็นผู้สร้างคอนเทนต์ด้เอง
3.Digital 3.0 ยุคแห่งข้อมูลและข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) เริ่มประมาณ ค.ศ.2004 จากการเติบโตของโซเวียลมีเดียและธุระกรรมในลักษณะพาณิย์อิเล็กทรอนิกส์ ผู้ใช้งานข้อมูลเปลี่ยนมาเป็นผู้สร้างข้อมูลทำให้ปริมาณข้อมูลมีเพิ่มขึ้นแบบทวีคูณ ทั้งข้อมูลจากเว็บไซต์ สื่อสังคมออนไลน์ คอมพิวเตอร์ สมาร์โฟน การเดินทาง การทำธุระกรรมต่างๆ พฤติกรรมการซื้อขายออนไลน์ที่มียอดเพิ่มสูงขึ้น
4.Digital 4.0 ยุคเทคโนโลยีสมองกล เริ่มต้นประมาณ ค.ศ.2016 เป็นยุคที่นำเทคโนโลยีขั้นสูง เช่น ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial lntelligence : Al) ซึ่งเป็นยุคการเรียนรู้ของเครื่อง (Machine Learning) เข้ามาผนวกกับคอมผิวเตอร์ หุ่นยนต์ หรืออุปกรณ์ อื่นๆ ให้อุปกรณ์เหล่านั้นมีความฉลาด สามารถเรียนรู้และประเมินหรือพยากรณ์ข้อมูลล่วงหน้าได้เพื่อให็สามารถมาช่วยหลืองานด้านต่างๆ
เทคโนโลยี (Technology) คือ วิทยากรที่นำความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการปฏิบัติและอุตสาหกรรม
สารสนเทศ (lnformation) การนำข้อมูลที่เก็บรวบรวมไว้มาผ่านกระบวนการเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่มีประโยน์ต่อการตัดสินใจ
เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ การนำความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์กับระบบสารสนเทส โดยต้องประยุกต์ใช้ตั้งกระบวนการจัดเก็บข้อมุลการประมวลผลข้อมูลเพื่อแปลงข้อมูลเป็นสารสนเทศ
2.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
2.1 แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศด้านฮาร์แวร์
2.2 เทคโนโลยีสารสนเทศด้านซอฟแวร์
2.2.2 PaaS เป็นรูปแบบการให้บริการในลักษณะแพลตฟอร์มโดยผู้ให้บริการระบบประมวลผลบนคลาวด์ จัดเตรียมซอฟแวร์และฮาร์ดแวร์ที่จำเป็นสำหรับผู้ให้บริการ เช่นการพัฒนาแอพพลิเคชั้น ต้องเตรียม Database Server
2.2.3 IaaS เป็นรูปแบบการให้บริการเฉพาะโครงสร้างพื้นฐานของระแบบ เช่น หน่อยประมวลผลเครือข่าย ข้อมูล ระบบเก็บข้อมูล โดยผู้ใช้บริการสามารถเช่าเวลาในการประมวลผลซื้อเวลา และขนาดช่องสัญญาณในการส่งข้อมูลหรือขนาดพื้นที่ เช่น Dropbox
2.เทคโนโลยีกับชีวิตประจำวัน
2.1 ปัญญาประดิษฐ์ (Articial Intelligence:AI) การใช้เทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์เข้าไปช่วยควบคุมการเรียนรู้และความฉลาดของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และเครื่องจักกลต่างๆ ได้มีการพัฒนาจากวิทยาการที่ใช้เทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์มาแก่ปัญหาต่างๆ เช่นการใช้ความผิวเตอร์เข้าใจภาษามนุษย์
1.ประวัติความเป็นมาของปัญญาประดิษฐ์ปัญญา
ประดิษฐ์ได้เริ่มการ ศึกษาในปี ค.ศ.1950 โดยอาจารย์จาก ประเทศอเมริกาและอังกฤษ นิยามของปัญญาประดิษฐ์ได้ถูกกำหนดขึ้นในปี 1956 โดย John McCarthy ได้มีการศึกษา และพัฒนางานด้านปัญญาประดิษฐ์และได้มีการตั้งเกณฑ์ทดสอบเพื่อที่จะระบุว่า เครื่องจักรกลหรือระบบคอมพิวเตอร์สามารถคิดได้เหมือนมนุษย์ออกมาโดย Alan Turing นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ แต่จนบัดนี้เครื่องจักรกลหรือระบบคอมพิวเตอร์ก็ยังไม่สามารถผ่านเกณฑ์ของ Alan Turing ได้เลย ณ ปัจจุบันระบบปัญญาประดิษฐ์ยังไม่สามารถสร้างคำตอบที่แปลกใหม่หรือคำตอบที่มา จากการคิดค้นขึ้นมาใหม่ของระบบเองได้ เพียงแต่เป็นการลอกเลียนความสามารถของมนุษย์ได้เท่านั้น
นิยามปํญญาประดิษฐ์
AI ย่อมาจาก Artificial Intelligence[1] โดยภาษาไทยใช้คำว่า ปัญญาประดิษฐ์[2] หมายถึง ระบบประมวลผลของคอมพิวเตอร์ หุ่นยนต์ เครื่องจักร หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ ที่มีการวิเคราะห์เชิงลึกคล้ายความฉลาดของมนุษย์ และสามารถก่อให้เกิดผลลัพธ์ที่เป็นการกระทำได้
ประเภทของปัญญาประดิษฐ์
AI ถูกจำแนกเป็น 3 ระดับตามความสามารถหรือความฉลาดดังนี้
1 ) ปัญญาประดิษฐ์เชิงแคบ (Narrow AI ) หรือ ปัญญาประดิษฐ์แบบอ่อน (Weak AI) : คือ AI ที่มีความสามารถเฉพาะทางได้ดีกว่ามนุษย์(เป็นที่มาของคำว่า Narrow(แคบ) ก็คือ AI ที่เก่งในเรื่องเเคบๆหรือเรื่องเฉพาะทางนั่นเอง) อาทิ เช่น AI ที่ช่วยในการผ่าตัด(AI-assisted robotic surgery) ที่อาจจะเชี่ยวชาญเรื่องการผ่าตัดกว่าคุณหมอยุคปัจจุบัน แต่แน่นอนว่า AIตัวนี้ไม่สามารถที่จะทำอาหาร ร้องเพลง หรือทำสิ่งอื่นที่นอกเหนือจากการผ่าตัดได้นั่นเอง ซึ่งผลงานวิจัยด้าน AI ณ ปัจจุบัน ยังอยู่ที่ระดับนี้
2 ) ปัญญาประดิษฐ์ทั่วไป (General AI ) : คือ AI ที่มีความสามารถระดับเดียวกับมนุษย์ สามารถทำทุกๆอย่างที่มนุษย์ทำได้และได้ประสิทธิภาพที่ใกล้เคียงกับมนุษย์
3) ปัญญาประดิษฐ์แบบเข้ม (Strong AI ) : คือ AI ที่มีความสามารถเหนือมนุษย์ในหลายๆด้านจะเห็นได้ว่าวิทยาการของมนุษย์ปัจจุบันอยู่ที่จุดเริ่มต้นของ AI เพียงเท่านั้น
2.2 เทคโนโลยีหุ่นยนต์
สิ่งที่มนุษย์พัฒนาขึ้น เพื่อช่วยในการทำงานหรือแก้ปัญหาต่าง ๆ เข่น อุปกรณ์, เครื่องมือ, เครื่องจักร, วัสดุ หรือ แม้กระทั่งที่ไม่ได้เป็นสิ่งของที่จับต้องได้ เช่น กระบวนการต่าง ๆ
2.3 เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม
เป็นเทคโนโลยีที่ผสมผสานระหว่างความเป็นจริง และ โลกเสมือนที่สร้างขึ้นมาผสานเข้าด้วยกันผ่านซอฟต์แวร์และอุปกรณ์เชื่อมต่อต่าง ๆ ซึ่งถือว่าเป็นการสร้างข้อมูลอีกข้อมูลหนึ่งที่เป็นส่วนประกอบบนโลกเสมือน (virtual world) เช่น ภาพกราฟิก วิดีโอ รูปทรงสามมิติ และข้อความ ตัวอักษร ให้ผนวกซ้อนทับกับภาพในโลกจริงที่ปรากฏบนกล้องเทคโนโลยี AR แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ ขั้นตอนการทำเทคโนโลยีเสมือนจริงและองค์ประกอบของเทคโนโลยีเสมือนจริง
3.ผลกระทบของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในด้านต่างๆ
3.1 ผลกระทบของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศต่อการดำเนินชีวิต
ผลกระทบด้านบวก -การติดต่อสื่อสารทำให้สะดวกและรวดเร็ว ผลกระทบด้านลบ -เกิดปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนมนุษย์ลดลง
3.2 ผลกระทบของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศต่ออาชีพ
ผลกระทบด้านบวก -ผู้สอน (ครูอาจารย์ หรือนักเรียนนักศึกษา) เป็นเครื่องมือที่ช่วยเสริมประสิทธิภาพในการเรียนการสอน
ผลกระทบด้านลบ -ผู้ที่ไม่มีความชำนาญในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ อาจไม่ถูกคัดเลือกให้เข้าทำงานในองค์กรหรือหน่วยงานที่มีชื่อเสียง
การนำเอาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริการด้านการแพทย์ให้กับผู้ป่วย ไม่ว่าจะเป็นการวินิจฉัยโรค การรักษา การติดตามอาการ ไปจนถึงการประเมินภาวะสุขภาพ การตรวจเลือด ตรวจปัสสาวะในแล็ปด้วยเครื่องตรวจที่ทันสมัย เอ็กซ์เรย์ร่างกาย CT scan หรือ MRI ล้วนแล้วแต่เป็นผลผลิต
ศาสตร์หนึ่งที่เกี่ยวข้องเทคโนโลยี การนำเทคโนโลยีไปใช้ประยุกต์กับงานด้านต่าง ๆ ในอุตสาหกรรม นอกจากนี้ยังรวมถึงการบริหารจัดการ การควบคุมคุณภาพ การวางผังโรงงาน
เทคโนโลยีที่นำมาใช้เพื่อการเกษตรประเทศไทยเป็นประเทศหนึ่งที่มีจำนวนประชาชนมากที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมและมีสาขามากมาย เช่น สาขาพืช สาขาสัตว์ ซึ่งมีมาตั้งแต่บรรพบุรุษและในปัจจุบันนี้ ได้มีการนำเอาเทคโนโลยีมาใช้ในการทำการเกษตรมากขึ้น เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกและประกอบกับสร้างองค์ประกอบต่างๆเพื่อให้ดีขึ้น
3.3 ผลกระทบของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศต่อสังคม
ผลกระทบด้านบวก -เกิดสังคมเสมือนสังคมออนไลน์ที่มีวัตถุประสงค์คล้ายกัน เพื่อการแบ่งปันสิ่งดีๆ ระหว่างกัน ช่วยแก้ปัญหาสังคมออนไลน์ด้านการออกกำลังกายกลุ่มสังคมออนไลฯ์ที่ให้ความรู้เรื่องการสร้างผลิตภัณฑ์ชุมชน