Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และแก้ไขเพิ่มเติม - Coggle Diagram
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และแก้ไขเพิ่มเติม
หมวด 2 สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา
สิทธิและโอกาศรับการศึกษา ได้แก่
การศึกษาขั้นพื้นฐาน 12 ปี ที่รัฐต้องจัดให้
อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และการศึกษาสำหรับเด็กพิเศษ ผู้พิการ
ด้อยโอกาศและเดกที่มีความต้องการพิเศษ
สิทธิในการจัดการศึกษา
ทุกคนต้องมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ไม่ว่าจะเป็น บุคคล ครอบครัว
องค์กรวิชาชีพ สถาบันทางศาสนา องค์กรเอกชน สถานประกอบการและสถาบันสังคมอื่น ผู้จัดการศึกษามีสิทธิรับสิทธิประโยชน์จากรัฐ
ด้านการสนับสนุนความรู้ เงินอุดหนุนการจัดการศึกษา และลดหย่อนหรือยกเว้นภาษี
หมวด 1 บททั่วไป ความมุ่งหมายและหลักการ
หลักการจัดการศึกษาเป็นการศึกษาตลอดชีวิต
สำหรับประชาชน ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาและพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
ความมุ่งหมาย มุ่งพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์
ที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้
และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิตอยู่ในสังคมโลกได้
การจัดระบบ โครงสร้าง และกระบวนการจัดการศึกษา
มีเอกกภาพด้านนโยบายแต่มีความหลากหลายในการปฏิบัติ
กระจายอำนาจสู่เขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษาและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กำหนดมาตรฐานการศึกษาการประกันคุณภาพ
การศึกษาทุกระดับและประเภทการศึกษา การส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพครู คณาจารย์ และบุคคลครอบครัว ชุมชน ระดมทรัพยากรแหล่งต่างๆ
หมวด 3 ระบบการศึกษา
ระบบการจัดการศึกษามี 3 รูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สถานศึกษาอาจจัดรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งหรือทั้ง 3 รูปแบบก็ได้ มีก่ีเทียบโอนผลการเรียนได้ทั้ง 3 รูป
การสึกษาในระบบ มี 2 ระดับ คือ
1.การศึกษาขั้นพื้นฐาน รัฐต้องจัดให้ไม่น้อยกว่า 12 ปี โดยให้มีการจัดการศึกษา ภาคบังคับ 9 ปี สำหรับเด็กอายุอย่างเข้าปีที่ 7
ถึงย่างเข้าปีที่ 6
2.การศึกษาระดับอุดมศึกษา ได้แก่ การศึกษาระดับต่ำกว่าปริญญาและระดับปริญญา
การจัดการศึกษาระดับปฐมวัยและการศึกษาขั้นพื้นฐานให้จัดในสถานศึกษา ดังนี้ 1.สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย 2.โรงเรียน 3.ศูนย์การเรียน
หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา
ยืดหลักว่า ผู้เรียนทุนคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนทุกคนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้อง
เสริมให้ผู้เรียน สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ โดยเน้นความสำคัญทั้งความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้บูรณาการตามความเหมาะสมของแต่ละระดับการศึกษา
การจัดกระบวนการเรียนรู้
1.สอดคล้องความสนใจ ความถนัด และความแตกต่างระหวางบุคค
2.ฝึกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และประยุกต์ใช้ความรู้
3.เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกปฏิบัติให้ทำได้ คิดเป็น ทำเป็น รักการอ่านและใฝ่รู้
4.ผสมผสานความรู้อย่างสมดุล ปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยม คุณลักษณะอันพึงประสงค์
5.จัดบรรยากาศ สิ่งแวดล้อม สื่อ อำนวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้
6.เรียนรู้ได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ ประสานความร่วมมือ จากทุกฝ่ายเพื่อพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ
:
หมวด 5 การบริหารและการจัดการศึกษา
การบริหารและการจัดการศึกษา แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ
องค์ประกอบของคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา ประกอบด้วย
ผู้แทนองค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สมาคมผู้ประกอบการวิชาชีพ ครู
สมาคมผู้ประกอบวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา สมาคมผู้ปกครอง
และครู และผู้ทรงคุณวุฒิด้านการศึกษา ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม และผู้อํานวยการสํานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาเป็น กรรมการและเลขานุการ
คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา มีอํานาจหน้าที่ กำกับดูแล
จัดตั้ง ยุบรวบ และเลิกสถานศึกษาขั้นพื้นฐานประสานส่งเสริม
สนับสนุนสถานศึกษาเอกชนในเขตพื้นที่การศึกษา
ประสานส่งเสริมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กระทรวงกระจายอํานาจการบริหารและการจัดการศึกษาไปยังเขตพื้น ที่การศึกษา
และสถานศึกษาโดยตรง ในด้านวิชาการ งบประมาณ บริหารบุคคล และการบริหารทั่วไป
องค์ประกอบของคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา ประกอบด้วย ผู้แทน องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สมาคมผู้ประกอบการวิชาชพี ครู สมาคมผู้ประกอบวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา สมาคมผู้ปกครองและครู ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการศึกษา ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม และผู้อํานวยการสํานักงานเขตพื้น ที่การศึกษาเป็นกรรมการและเลขานุการ
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีหน้าที่ กํากับ และส่งเสริมสนับสนุน กิจการของสถานศึกษา
องค์ประกอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วย ผู้แทนผู้ปกครอง ครู องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ศิษย์เก่า พระภิกษุสงฆ์และ องค์กรศาสนาอื่น ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้บริหารสถานศึกษาเป็นกรรมการและเลขานุการโดยตําแหน่ง
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีสิทธิจัดการศึกษาระดับใดระดับหนึ่งหรือทุก ระดับตามความพร้อมความเหมาะสมและความต้องการภายในท้องถิ่น
การบริหารและจัดการศึกษาของเอกชน ให้มีความเป็นอิสระโดยมี การกํากับติดตาม การประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของรัฐ รัฐสนับสนุนด้านเงินอุดหนุนการลดหย่อนหรือ การยกเว้นภาษีและสิทธิประโยชน์อย่างอื่นที่เป็นประโยชน์ทางการศึกษา รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุน ด้านวิชาการใหเแก่สถานศึกษาเอกชน
หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
ระบบประกันคุณภาพภายนอก
หน่วยงานท่ีรับผิดชอบ
สมศ.
ประเมินสถานศึกษาทุก 5 ปี
แจ้งผลต่อสถานศึกษา
กําหนดเกณฑ์ วิธีการประเมิน
เสนอผลต่อหน่วยงาน ที่เก่ียวข้อง
สาธารณชน
ระบบประกันคุณภาพภายใน
หน่วยงานท่ีรับผิดชอบ
ต้นสังกัด ส่งเสริม
สนับสนุน ติดตาม
ให้จัดระบบ ประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษา
จัดระบบประกันภายใน
จัดทํารายงาน ประจําปีเสนอ
สาธารณชน
ขอรับการประเมิน
หมวด 7 ครู คณาจารย์และบุคลากรทางศึกษา
มีคุณภาพมีมาตรฐานเป็นวิชาชีพ ชั้นสูง
มีระบบ กระบวนการ ผลิต การพัฒนา
องค์กรวิชาชีพ
-มาตรฐาน
-ใบอนุญาต
-กำกับ ดูแล
-พัฒนา
-เงินเดือน
-ค่าตอบแทน
-สวัสดิการ
-สิทธิประโยชน์เกื้อกูล
กองทุนส่งเสริม
องค์กรกลางบริหาร งานบุคคล
กระจายอํานาจสู่ เขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา
กองทุนพัฒนา
หมวด 8 ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา
-ระดมทรัพยากรทั้งจากรัฐและเอกชน
-สถานศึกษาของรัฐที่เป็นนิติบุคคล มีอำนาจในการปกครอง ดูแลบำรุงรักษา ใช้และจัดหาประโยชน์จากทรัพย์สินของสถานศึกษา ทั้งที่เป็นที่ราชพัสดุและทรัพย์สินอื่น
-รายได้และผลประโยชน์ของสถานศึกษา
ของรัฐที่เป็นนนิติบุคคลต้องส่งคลัง
-รัฐจัดสรรงบประมาณให้กับการศึกษาในฐานะที่มีความสําคัญสูงสุดต่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศ -จัดสรรเงินอุดหนุนให้บุคคลและองค์กรที่จัดการศึกษาตามความเหมาะสมและจําเป็น
-มีระบบตรวจสอบ ติดตาม ประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการใช้จ่ายงบประมาณการจัดการศึกษา
ระดมทรัพยากรทั้งจากรัฐและเอกชน
สถานศึกษาของรัฐที่เปนนิตบิ ุคคล มีอํานาจในการปกครอง ดูแลบํารุงรักษา
และทรัพยสินอื่น
รัฐจัดสรรงบประมาณใหกับการศึกษาในฐานะที่มีความสําคัญสูงสุดตอการ
พัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศ
หมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
-รัฐจัดสรรคลื่นความถี่ สื่อตัวนํา โครงสร้างพื้นฐานเพื่อการสื่อสารและใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
-ส่งเสริม สนับสนุน การผลิตและพัฒนาแบบเรียน
สื่อและเทคโนโลยีเพื่อให้การศึกษาโดยให้มีการแข่งขันอย่างเสรี
-พัฒนาบุคลากรผู้ผลิตและผู้ใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
-ผู้เรียนมีสิทธิได้รับการพัฒนาการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาต่อเนืองตลอด
-รัฐต้องส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาการผลิตและการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
-จัดตั้งกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา