Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร - Coggle Diagram
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ด้านปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาอัตนิยม/อัตถิภาวนิยม/สวภาพนิยม
เน้นการสอนเกี่ยวกับเรื่องของการปรับตัว เผชิญแก้ไขปัญหาต่างๆ
ผู้เรียนมีอิสระในการเลือกเรียนโดยจะมีครูเป็นผู้ชี้แนะะ
ปรัชญานิรันตรนิยม
เนื้อหาจะเกี่ยวกับข้องกับการพัฒนาปัญญาและจิตใจ
วิธีสอน คือการอ่าน เขียน ท่องจำ คำนวณ ถามตอบ
ปรัชญาปฏิรูปนิยม
จัดการศึกษาเพื่อแก้ไขปัญหาสังคม
ประเมินผลพัฒฯาการทุกด้าน และทัศนคติ
ปรัชญาสารัตถนิยม/สาระนิยม
ถ่ายทอดวัฒนธรรมประเพณี
เน้นการบรรยาย
ยึดครูเป็นศูนย์กลางมีการประเมินผล
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม/วิวัฒนาการนิยม
พัฒนาผู้เรียนทุกด้าน
ยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
วิธีการสอนจะเกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาด้วยตนเองซึ่งจะให้ทำโครงงาน มีการอภิปรายกลุ่ม
ด้านจิตวิทยา
ความคิดนิยม
กลุ่มเกสตอล์ท
รับรู้ประสบการณ์แบบแผน รูปร่าง
Jean Piaget
พัฒนาการทางปัญญา 4 ขั้น
ขั้นที่2 อายุ2-7 ปี ขั้นก่อนปฏิบัติการ
ขั้นที่3 อายุ 7-11 ปี ขั้นตอนการเป็นรูปธรรม
ขั้นที่ 1 แรกเกิดถึงสองเดือน เริ่มใช้อวัยวะและประสาทสัมผัส
ขั้นที่4 อายุ 11-16 ปี ขั้นปฏิบัติการอย่างเป็นทางการ
John Dewey
การเรียนรู้เกิดจากการปฏิบัติและฝึกฝน
Robert M. Gagne
การเรียนรู้เกิดจากการเรียนรู้ ความสามารถทั้ง 5 ด้าน ด้านสติปัญญา ด้านความคิด ด้านคำพูด ด้านทักษะและเจตคติ
มนุษยนิยม
Abraham Maslow
การต้องการพื้นฐานของมนุษย์
ด้านความปลอดภัยความมั่นคง
การยกย่องนับถือ
สุนทรียภาพ
ความเป็นจริงเกี่ยวกับตนเอง
ด้านร่างกาย
ความรักความเป็นเจ้าของ
Carl R. Rogers
ผู้เรียนมีแรงจูงใจมีสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออำนวย
การยอมรับให้เกียรติผู้เรียน
เป็นจริงตามธรรมชาติ
เข้าใจ เป็นกลาง
กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
Edwin R.Guthrie กล่าวว่าการเรียนจากสิ่งเร้านั้นตอบสนองไปด้วยกันอย่างใกล้ชิด โดยวางเงื่อนไขแบบติดกันไม่มีการให้รางวัล การลงโทษ หรือการฝึกปฏิบัติ
ทฤษฏีการวางเงื่อนไขแบบปฏิบัติการ
B.F. Skinner กล่าวว่าการเรียนรู้จากสิ่งแวดล้อมใหม่ สามารถสังเกตพฤติกรรมได้ จากการเต็มใจ สมัครใจ ซึ่งเป็นการตอบสนองจากสิ่งแวดล้อม ประสบการณ์และมีการเสริมแรงให้พฤติกรรมนั้นเข้มแข็งขึ้น
ด้านสังคมและวัฒนธรรม
โครงสร้างของสังคม
สังคมชนบทจะเป็นแบบเกษตรกรรม
สังคมในเมืองจะเป็นอุตสาหกรรม
ค่านิยม
สิ่งที่สังคมเห็นคุณค่าและให้การยอมรับ เช่น ค่านิยม lgbt ค่านิยมด้านแฟชั่น
ธรรมชาติของคนในสังคม
ในอนาคต
เคารพคล้อยตามผู้ใหญ่
ยกย่องผู้มีเงินและอำนาจ
ยกย่องบุคคลที่มีความรู้
นิยมเล่นพรรคเล่นพวก
ยึดมั่นตัวบุคคลมากกว่าเหตุผล
เฉื่อยชา ไม่กระตือรือร้น
การชี้นำสังคมในอนาคต
ความต้องการและปัญหาสังคม
พัฒนาสังคมตามกระแสการเปลี่ยนแปลง
ตั้งรับการเปลี่ยนแปลง
แนวโน้มของสังคมโลกอนาคต
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ด้านเศรษฐกิจ
การขยายตัวทางด้านอุตสาหกรรม
แนวโน้วทิศทาง
การใช้ทรัพยากรอย่างจำกัด
สอดคล้องกับตลาดแรงงาน
การเตรียมกำลังคน
เพียงพอเหมาะสม
การพัฒนาอาชึพ
เกษตรกร
อุตสาหกรรม
การเมืองการปกครอง
นโยบายรัฐ
รากฐานของประชาธิปไตย 98%
การศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของระบบสังคม
การดำเนินงานระบบต่างๆต่อเนื่องและสอดคล้องกัน
รากฐานของประชาธิปไตย
สิทธิ หน้าที่ของประชาชนต่อรัฐ
บทบาท หน้าที่ของประชาชน
ความรับผิดชอบต่อบ้านเมือง
ความสัมพันธ์ของการเมืองในชีวิตประจำวัน
หน้าที่สำคัญของการศึกษา
ปลูกฝังและสร้างความเข้าใจในสังคม
เนื้อหาสาระและประสบการณ์สร้างสมาชิกที่ดีในสังคม
ด้านธรรมชาติผู้เรียน
พัฒนาการทางสติปัญญาผู้เรียนและพัฒนาการทางสังคมของผู้เรียน
ขั้นที่4 ระยะเข้าโรงเรียน อายุ 6-12 ปี
ขั้นที่ 3 ระยะก่อนไปโรงเรียน อายุ 3-6 ปี
ขั้นที่5 ระยะวัยรุ่น อายุ12-20 ปี
ขั้นที่2 ระยะเริ่มต้น อายุ 2-3 ปี
ขั้นที่6 ระยะต้นของวัยผู้ใหญ่ อายุ 20-40 ปี
ขั้นที่1 ระยะทารก อายุ0-2 ปี
ขั้นที่ 7 ระยะผู้ใหญ่ อายุ 40-60 ปี
ขั้นที่8 ระยะวัยสูงอายุ อายุ 60 ปี
พัฒนาการจริยธรรมของผู้เรียน
ตามกฏเกณฑ์สังคม
ธรรมชาติการเรียนรู้ของผู้เรียน
แบบคิดอเนกนัย
ใช้ประสบการณ์ความรู้สึก
รับรู้และจินตนาการ
มองภาพรวม
แบบดูดซึม
ไตร่ตรอง
ใช้เหตุผล
ไม่คำนึงถึงการประยุกต์ใช้
ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หลักสูตร
ทันสมัย ทันต่อการเปลี่ยนแปลง
ใช้เครื่องจักรแทนคนเพื่อความปลอดภัย
การนำไปใช้ในหลักสูตร
มีความรู้ความเข้าใจ
เรียนรู้ด้วยตัวเองอย่างกว้างขวาง
พื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับการพัฒนาหลักสูตร
ข้อมูลในการพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาคนให้มีความพร้อม
การจัดการศึกษา/การจัดการเรียนรู้ พัฒนาคนให้เท่าทัน