Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ข้อมูลพื้นฐานการพัฒนาหลักสูตร, ดวงรัตน์ 383, ณิภาพร 162 - Coggle Diagram
ข้อมูลพื้นฐานการพัฒนาหลักสูตร
ด้านปรัชญาการศึกษา
ปฏิรูปนิยม (Reconstructionism) การปฏิรูปสังคมเป็นหน้าที่ของสมาชิกในสังคม การจัดการเรียนการสอน เน้นให้ผู้เรียนเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมของสังคม เพื่อการเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม
อัตถิภาวนิยม / สวภาพนิยม (Existentialism) มนุษย์แต่ละคนเป็นผู้กำหนดหรือแสวงหาสิ่งสำคัญ และตัดสินใจด้วยตนเอง การจัดการศึกษาจึงให้เสรีภาพในการเรียนรู้ให้ผู้เรียนรู้จักตนเอง
พิพัฒนนิยม (Progressivism) การดำรงชีวิตที่ดี อยู่บนพื้นฐานของการคิดและการกระทำ การจัดการเรียนการสอน เน้นให้ผู้เรียนคิด ลงมือกระทำ และแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง
นิรันตรนิยม / สัจจนิยม (Perennialism) มนุษย์มีความสามารถในการใช้เหตุผล การควบคุมตนเอง การจัดการเรียนการสอนเน้นให้ผู้เรียนจดจำ การใช้เหตุผล และตั้งใจทำสิ่งต่างๆ
สารัตถนิยม (Essentialism) การศึกษาเป็นเครื่องมือถ่ายทอดวัฒนธรรม และอุดมการณ์ทางสังคม การจัดการเรียนการสอนเน้นการถ่ายทอดเนื้อหาสาระต่างๆ ให้กับผู้เรียน
ปรัชญาการศึกษานั้นมีความจำเป็นอย่างยิ่งในการพัฒนาหลักสูตร โดยใช้กำหนดจุดมุ่งหมาย เลือกเนื้อหาสาระและนำมาจัดหลักสูตรได้อย่างเป็นระบบ ทำให้หลักสูตรนั้นมีประสิทธิภาพมากขึ้น
ด้านเศรษฐกิจ
การเตรียมกำลังคน
เพียงพอ เหมาะสม
สอดคล้องกับความต้องการ
ลดปัญหาการว่างงาน
การพัฒนาอาชีพ
พัฒนาอาชีพตามศักยภาพ
สอดคล้องต้องการของประเทศ
เกษตรกร : ชนบท
การขยายตัวทางด้านอตุสาหกรรม
แนวโน้มและทิศทาง
ผลิตบัณฑิตเข้าสู่ภาคอุตสาหกรรม
สอดคล้องและสมดุลกับตลาดแรงงาน
การใช้ทรัพยากร
มีอยู่อย่างจากัด
เกิดประโยชน์/ รายได้สูงสุดและคุ้มค่า
กิจกรรมทางเศรษฐกิจครบวงจร
ใช้ทรัพยากรในท้องถิ่น
การพัฒนาคุณลักษณะของบุคคลในระบบเศรษฐกิจ
รายได้ต่ำ->เศรษฐกิจระบบเปิด
ซื้อสินค้าฟุ่มเฟือย/เพิ่มรายจ่าย
นิยมสินค้าราคาสูง
การลงทุนทางการศึกษา
การลงทุนทางการศึกษา
ผลตอบแทน:กำลังคน
ปริมาณ และคุณภาพ
การลงทุนที่สูญเปล่า
ด้านจิตวิทยา
จิตวิทยาการเรียนรู้ กลุ่มความรู้ ความคิดนิยม (Cognitivist)
กลุ่มเกสตอลท (Gestalt)
การรับรู้และการเรียนรู้เป็นประสบการณ์ที่มีแบบแผนเค้าโครงรูปร่าง
ส่วนรวม (the whole) สำคัญกว่าแต่ละส่วนมารวมกันกฎแห่งการเรียนรู้
กฏแห่งการเรียนรู้
1.กฎแห่งความคล้ายคลึง (law of similarity)
2.กฎแห่งความใกล้เคียง (law of proximity)
3.กฎแห่งความใกล้ชิด (law of closure)
4.กฎแห่งความต่อเนื่อง (law of continuation)
Jean Piaget
พัฒนาการทางปัญญา 4 ขั้น
-ขั้นใช้อวัยวะและประสาทสัมผัส ( sensory motor ) แรกเกิดถึง 2 ขวบ
-ขั้นก่อนปฏิบัติการ ( preoperational ) อายุ 2-7 ปี
-ขั้นตอนการปฏิบัติการเป็นรูปธรรม (concrete operation) อายุ 7-11 ปี
-ขั้นปฏิบัติการที่เป็นทางการ (formaloperation) อายุ 11-16 ปี
John Dewey
-การเรียนรู้เกิดจากผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติและฝึกฝนด้วยตนเอง (learning by doing)
-ความเจริญงอกงามจากการฝึกสติปัญญาจากประสบการณ์ของตนเองได้รับความคิดใหม่และประยุกต์ใช้ได้กว้างขวางขึ้น
Robert M. Gagne
การเรียนรู้ของมนุษย์อาศัยการจัดกระทำข้อมูลของสมองเป็นพื้นฐานความสามารถในการเรียนรู้ของมนุษย์มี 5 ด้าน คือ ด้านสติปัญญา ด้านความคิด ด้านคำพูด ด้านทักษะ และด้านเจตคติ
จิตวิทยาการเรียนรู้กลุ่มมนุษย์นิยม (Humanism)
Abraham Maslow
ความต้องการพื้นฐานของมนุษย์
ความต้องการทางร่างกาย
ความต้องการความปลอดภัย / ความมั่นคง
ความต้องการความรักและความเป็นเจ้าของ
ความต้องการได้รับความยกย่องนับถือ
ความต้องการด้านสุนทรียภาพ
ความต้องการเข้าใจความเป็นจริงเกี่ยวกับตนเอง
พื้นฐานด้านจิตวิทยาการเรียนรู้กลุ่มมนุษยนิยม (Humanist)
Carl R. Rogers
ผู้เรียนมีแรงจูงใจมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้สร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออำนวยจะเกิดการเรียนรู้จะเกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ
บรรยากาศที่ส่งเสริมการเรียนรู้
เป็นจริงตามธรรมชาติ
การยอมรับและให้เกียรติผู้เรียน ยอมรับ ไว้วางใจ
เข้าใจ เป็นกลาง ไม่มีอคติ
จิตวิทยาการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism)
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค (Classical conditioning)
Edwin R. Guthrie
การเรียนรู้เกิดจากสิ่งเร้าและกรตอบสนองที่เกิดไปด้วยกันอย่างใกล้ชิด เป็นการวางเงื่อนไขแบบติดกัน (Continuous Conditioning) ไม่มีการให้มีรางวัล การลงโทษ หรือการฝึกปฏิบัติ
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบปฏิบัติการ (operant conditioning)
-กฎแห่งความพร้อม (Law of readiness)
-กฎแห่งการฝึ กหัด (law of exercise)
-กฎแห่งผล (law of effect )
B.F. Skinner
การเรียนรู้จากสิ่งแวดล้อมใหม่และสิ่งแวดล้อมที่ซับซ้อน เน้นพฤติกรรมที่สังเกตได้ซึ่งเกิดจากความเต็มใจ สมัครใจ และแสดงพฤติกรรมในสถานการณ์ใหม่ที่เป็ นการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม ประสบการณ์ และมีการเสริมแรงให้พฤติกรรมนั้นเข้มแข็งและคงทนขึ้น
ด้านการเมืองการปกครอง
ระบบการเมืองการปกครอง
สร้างความเข้าใจให้กับประชาชน
เน้ือหาสาระ
ประสบการณ์เรียนรู้
การปลูกฝัง
นโยบายของรัฐ
การศึกษาเป็นสว่นหน่ึงของระบบสังคม
การดำเนินงานระบบต่างๆต่อเนื่องและสอดคล้องกัน
รากฐานของประชาธิปไตย
สิทธิ หน้าที่ของประชาชนต่อรัฐ
ความรับผิดชอบต่อบ้านเมือง
บทบาท หน้าที่ของประชาชนด้านการเมือง การปกครอง
ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
พัฒนาอย่างรวดเร็ว พัฒนาแบบไม่หยุดยั้ง
ยุคแห่งสารสนเทศเรียนรู้ได้เท่าทันกัน
หลักสูตร
ทันสมัยทันต่อการเปลี่ยนแปลงและความเจรญิก้าวหน้าของ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและอุตสาหกรรม
พัฒนาคนให้ใช้เครื่องจักรและเทคโนโลยีได้อย่างปลอดภัยมีประสิทธิภาพ
การนำวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการศึกษา
วิธีการสอนอุปกรณ์ เทคโนโลยี สื่อการสอนที่ทันสมัย
มีความรู้ความเข้าใจและนำไปใช้ประโยชน์
เรียนรู้ด้วยตนเองและเรียนรู้ได้กว้างขวาง
เรียนรู้และรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง
ด้านธรรมชาติผู้เรียน
พัฒนาการทางสติปัญญาของผู้เรียน
Piaget (1952)
พัฒนาการทางสังคมของผู้เรียน
Ericson,1963 :8 ขั้น
ขั้นท่ี 1 ระยะทารก อายุ 0-2 ปี :ความไว้วางใจ-ไม่ไว้วางใจผู้อื่น
ขั้นท่ี 2 ระยะเริ่มต้น อายุ2-3ปี
:ความเป็นตัวของตัวเอง-ความไม่มั่นใจและสงสัย
ขั้นท่ี 3 ระยะก่อนไปโรงเรียน อายุ3-6ปี
:ความคิดริเริ่ม -ความรู้สึกผิด
ขั้นท่ี 4 ระยะเข้าโรงเรียน อายุ6-12ปี
:ความสามารถ-ความล้มเหลว
ขั้นท่ี 5 ระยะวัยรุ่น อายุ12-20ปี
:ความมีเอกลักษณ์–ความสับสนในบทบาท
ขั้นท่ี 6 ระยะต้นของวัยผู้ใหญ่ อายุ20-40ปี
:ความรู้สึกสนิทสนม-ความโดดเดี่ยว
ขั้นท่ี 7 ระยะผู้ใหญ่ อายุ40-60ปี
:ความกระฉับกระเฉงหรือความเฉยเมย
ขั้นท่ี 8 ระยะวัยสูงอายุ อายุประมาณ60ปีข้ึนไป
: ความภาคภูมิใจ - ความสิ่นหวังท้อแท้
พัฒนาการทางจริยธรรมของผู้เรียน
ระดับท่ี1ระดับก่อนกฎเกณฑ์สังคม
ขั้นท่ี 1 ระดับจริยธรรมของผู้อื่น
ขั้นที่ 2 ระดับจริยธรรมของผู้อื่น
ระดับที่2ระดับจริยธรรมตามเกณฑ์สังคม
ขั้นที่3 การยอมรับกลุ่มหรือสังคม
ขั้นที่4 กฎและระเบียบของสังคม
ระดับที่3ระดับจริยธรรมอย่างมีวิจารณญาณ
ขั้นที่5 สัญญาสังคมหรือทำตามคำมั่นสัญญา
ขั้นที่6 หลักการคุณธรรมสากล
ธรรมชาติการเรียนรู้ของผู้เรียน
แบบคิดอเนกนัย(Divergent)
ใช้ประสบการณ์ความรู้สึก
รับรู้และจินตนาการ
มองภาพรวม
ระดมสมองอภิปรายแลกเปลี่ยน
แบบดูดซึม (Assimilation)
ไตร่ตรอง เข้าใจประสบการณ์
ใช้เหตุผล
สรุปหลักการ/กฎเกณฑ์(นามธรรม)
ไม่ค่านึงถึงการประยุกต์ใช้
แบบคิดเอกนัย(Convergent)
ใชเ้หตุผลความคิด
ทดลอง/ปฏิบัติ
สรุปวิธีการที่ดีที่สุด
นำไปใช้แก้ไขปัญหา
มีความเชี่ยวชาญ
แบบปรับปรุง(Accommodation)
ทดลอง/ปฏิบัติ
การปรับตัว
แสวงหาประสบการณ์
ลองผิดลองถูก
ทำงานร่วมกับผู้อื่น
ด้านสังคมและวัฒนธรรม
โครงสร้างของสังคม
โครงสร้างไทยแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ ลักษณะสังคมชนบทหรือสังคมเกษตรกรรม และสังคมเมืองหรือสังคมอุตสาหกรรม ในปัจจุบันความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาก สังคมอุตสาหกรรมมีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้นในอนาคต
ค่านิยมในสังคม
ค่านิยม-สิ่งที่คนในสังคมเห็นว่ามีคุณค่ายอมรับปรารถนาให้มี
-การศึกษาทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงค่านิยมในสังคม
ค่านิยมสังคมไทยในปัจจุบัน
-ค่านิยมที่เป็นอุปสรรคต่อความเจริญก้าวหน้าของสังคม
-ค่านิยมที่ควรสร้างและปลูกฝัง
ธรรมชาติของคนไทยในสังคม
ธรรมชาติของคนไทยในแต่ละสังคมย่อมแตกต่างกันออกไป ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพพื้นฐานทางวัฒนธรรมและค่านิยมนั้นๆ ทำให้คนไทยส่วนใหญ่มีลักษณะบุคลิกภาพดังต่อไปนี้
ยึดมั่นในตัวบุคคลมากกว่าหลักการและเหตุผล
ยกย่องบุคคลที่มีความรู้หรือได้รับการศึกษาสูง
เคารพและคล้อยตามผู้ได้รับวัยวุฒิสูง
ยกย่องผู้มีเงินและผู้มีอำนาจ
นิยมการเล่นพรรคเล่นพวก
มีลักษณะเฉื่อยชาไม่กระตือรือร้น
ในการพัฒนาหลักสูตร ควรคำนึกถึงลักษณะธรรมชาติ บุคลิกของคนในสังคม โดยพิจารณาว่าลักษณะใดควรไม่ควร เพราะหลักสูตรเป็นแนวทางในการสร้างลักษณะสังคมในอนาคต
การชี้นำสังคมในอนาคต
-ตั้งรับการเปลี่ยนแปลง
-ความต้องการและปัญหาสังคม
-พัฒนาสังคมตามกระแสความเปลี่ยนแปลง
-แนวโน้มของสังคมโลกอนาคต
-แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ดวงรัตน์ 383
ณิภาพร 162