Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ประวัติวรรณคดีสมัยสุโขทัย - Coggle Diagram
ประวัติวรรณคดีสมัยสุโขทัย
ศิลาจารึกหลักที่1
จุดมุ่งหมายในการแต่ง
เพื่อเป็นหลักฐานแสดงความรุ่งเรืองในยุคสมัยสุโขทัย
เพื่อสดุดีพระเกียรติพ่อขุนราม
ลักษณะคำประพันธ์
ใช้คำที่มีสัมผัสคล้องจอง
ตัวอย่าง
ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว
เพื่อนจูงวัวไปค้า ขี่ม้าไปขาย
เห็นเข้าท่านบ่ใครพีนเห็นสินท่านบ่ใครเดือด
เป็นร้อยแก้ว ประโยคสั้นๆ
นิยมใช้รูปความเดียว
ใช้สำนวนกะทัดรัด
ตัวอย่าง: พ่อกูชื่อขุนศรีอินทราทิตย์ แม่กูชื่อนางเสือง พี่กูชื่อบานเมือง
สมัยที่แต่ง+ผู้แต่ง
ตอนที่ 3 การสรรเสริญพระเกียรติสมัยพ่อขุนรามคำแหง
และกล่าวถึงอาณาเขตสมัยสุโขทัย
จารึกหลังสมัยพ่อขุนราม
ตอนที่ 2 บรรยายเหตุการณ์สภาพบ้านเมือง
ความเป็นอยู่สมัยสุโขทัย
จารึกในรัชสมัยพ่อขุนราม
ตอนที่ 1 พระราชประวัติพ่อขุนรามคำแหง
จารึกในสมัยพ่อขุนราม
ลักษณะเนื้อหา
ตอนที่1
กล่าวถึงพระราชประวัติพ่อขุนรามคำแหง
ตอนที่2
กล่าวถึงสังคมวัฒนธรรม การปกครองในสุขโขทัย
ตัวอย่าง
ความอุดมสมบูรณ์ในสุโขทัย
ไม่มีการเก็บภาษีจังกอบ
การเผาเทียนเล่นไฟ
ตอนที่3
เป็นคำสดุดีพระเกียรติพ่อขุนรามคำแหง
กล่าวถึงอาณาเขตเมืองสุโขทัย
คุณค่า
ด้านภาษา :
ตัวอย่างอักษรในจารึกพ่อขุนรามคำแหง
ตัวอย่างคำในจารึกพ่อขุนรามคำแหง
ช่อย
เหนือเฟื้อกู้
ป่าหมากพร้าว ป่า
หมากลาง
เป็นภาษาไทยแท้
เป็นคำโดด
ประโยคสั้น กะทัดรัด
จินตภาพชัดเจน
ด้านประวัติศาสตร์โบราณคดี
กล่าวถึงพระราชประวัติพ่อขุนรามคำแหง
กล่าวถึงสงครามเจ้าเมืองฉอด
ด้านการปกครอง
พ่อปกครองลูก
โปรดให้แขวนกระดิ่งไว้หน้าประตูวัง เพื่อให้ร้องทุกข์
ด้านศิลปกรรรม
กล่าวถึงพระอัฏฐารส วัดสะพานหิน
สถาปัตยกรรม
เจดีย์ปราสาท
ปรางค์ปราสาท
เจดีย์แบบยอดพุ่มข้าวบิณฑ์
ศิลปกรรม
พระพุทธรูป
พระพักตร์รูปผลมะตูม
พระเกตุมาลาเป็นรูปเปลว
สังฆาฎิทอดยาวเลยพระอุระลงมา
ดนตรี
เครื่องเป่า
เครื่องตี
เครื่องดีด
ประเพณี
ด้านศาสนา และความเชื่อ
ความเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา
ความเชื่่อเรื่่องผี
ด้านชีวิตความเป็นอยู่ของชาวสุโขทัย
ได้บรรยายชัดเจนเกี่ยวกับการดำเนินชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน
สุภาษิตพระร่วง
จุดมุ่งหมายในการแต่ง
เพื่อสั่งสอนประชาชนในการประพฤติปฏิบัติตน
เน้นสอนคนชนชั้นกลาง
ลักษณะคำประพันธ์
แต่งด้วยร่ายสุภาพ โดยการจบด้วยโคลงสองสุภาพและโคลงกระทู้ 1 บท
ลักษณะเนื้อหา
การปฏิบัติตนต่อบุคคลอื่น
เช่น อาสาเจ้าจนตัวตาย อาสานายจงพอแรง
เช่น ท่านไท้อย่าหมายโทษ
การปฏิบัติตนทั่วไปในการดำรงชีวิตในสังคม
เช่น เข้าเถื่อนอย่าลืมพร้า หน้าศึกอย่านอนใจ
คุณค่า
ด้านวรรณคดี
กวีสมัยต่อมามักกล่าวถึงสุภาษิตพระร่วงในงานของตน
เช่น อย่ารักเหากว่าผม อย่ารักลมกว่าน้ำ
ร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก
เช่น อย่าตีปลาหน้าไซ
ขุนช้างขุนแผน
เช่น ผิจะจับจับจงมั่น ผิจะคั้นคั้นจนตาย
ลิลิตพระลอ
เช่น เข้าเถื่อนอย่าลืมพร้า
ร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก
ด้านสังคม
ปฏิบัติได้ในชีวิตประจำวัน
เป็นความจริงที่ไม่เปลี่ยนแปลง
สมัยที่แต่งและผู้แต่ง
สันนิษฐานว่า ผู้แต่งคือ 1 ใน 3 คน ดังนี้
สมเด็จพระมหาธรรมราชาที่ 1
สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระปรมานุชิตชิโนรส
พ่อขุนรามคำแหง
คาดว่าแต่งในสมัยสุโขทัย แต่อาจมีการแต่งเพิ่มในช่วงสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น