Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Dengue hemorrhagic fever – DHF - Coggle Diagram
Dengue hemorrhagic fever – DHF
พยาธิสภาพ
พยาธิกำเนิดของโรคไข้เลือดออกยังไม่เป็นที่ทราบได้แน่ชัด พบว่าปัจจัยที่มีส่วนต่อการเกิด โรคได้แก่
ภาวะภูมิคุ้มกันของร่างกาย พบว่าผู้ป่วยมักมีภาวะโภชนาการที่ดี ซึ่งส่งผลต่อการ ตอบสนองของภูมิคุ้มกันของร่างกายเมื่อมีการติดเชื้อ โดยพบว่ามีการหลั่งสาร chemokines ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงของ Tและ B cells นำไปสู่การเกิด autoantibody ต่อเกร็ดเลือดและเซลล์ เยื่อบุทำให้เกิดภาวะเกร็ดเลือดต่ำและ vasculopathy นอกจากนี้ยังพบว่าภาวะ autoantibody มีความ รุนแรงมากในผู้ป่วยซึ่งมีอาการของโรครุนแรง
3.ปัจจัยด้านไวรัส
ไวรัสเด็งกี่ serotype 2 จากทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีความรุนแรงของโรคสูง ผู้ป่วยที่มีปริมาณของไวรัสเด็งกี่มากจะมีอาการรุนแรง กว่าผู้ป่วยที่มี ปริมาณของวรัสเด็งกี่น้อย
1.อายุ พบว่าเด็กมีความเสี่ยงมากกว่าผู้ใหญ่
4.ปัจจัยด้านยุง ยุง Aedes aegypti เป็นภาหะนำโรคที่สำคัญ ยุงชนิดอื่นเช่น Aedes albopictus สามารถ
แพร่เชื้อไวรัสเด็งกี่ได้เช่นกันแต่ไม่ดีเท่ายุง Aedes aegypti
ลักษณะทางคลินิก
Dengue hemorrhagic fever (DHF) มีการรั่วของพลาสมา หากรั่วมาก อาจทำให้ผู้ป่วยเข้าสู่ภาวะช็อก (dengue shock syndrome,DSS) การรั่วของพลาสมาทราบได้จากการมีระดับฮีมาโตคริตสูงขึ้น มีสารน้ำในช่องเยื่อหุ้มปอดหรือในช่องท้อง
การดำเนินของโรค DHFแบ่งออกเป็น 3 ระยะ
ระยะวิกฤต(shock or hemorrhagic stage) เป็นระยะที่มีการรั่วของพลาสมา
อาจเกิดภาวะช็อกได้
มีอาการกระสับกระส่าย มือเท้าเย็น ชีพจรเต้นเร็วและเบาลง มีความดันเลือดต่ำหรือ pulsepressure แคบ
ไข้มักลดลงอย่างรวดเร็ว
ระยะนี้อาจพบอาการเลือดออกได้บ่อย
แบ่งได้เป็น 4 เกรด
เกรด 1 ไม่พบอาการเลือดออก การทดสอบทูนิเกต์ให้ผลบวก
เกรด 2 มีอาการเลือดออกบริเวณผิวหนังหรืออวัยวะอื่น
เกรด 3 ชีพจรเบาเร็ว ความดันเลือดต่ำ หรือมีpulse pressureแคบ
เกรด 4 วัดความดันเลือดไม่ได้หรือคลำชีพจรไม่ได้
DHFเกรด 3และเกรด 4 เรียกรวมกันว่า DSS
กรณีศึกษา
มีเลือดกำเดาไหลในปริมาณที่เยอะและนานกว่าปกติ
ไข้ลดลง
Platelets count = 8,000 cell/mm
ระยะพักฟื้น(convalescent stage)
มีการดูดกลับของพลาสมาเข้าสู่กระแสเลือด จะมีอาการทั่วไปดีขึ้น
ปัสสาวะเพิ่มขึ้น
อัตราการเต้นของหัวใจลดลง
มีความอยากอาหาร
อาจมี petichai rash เป็นวงขาวกระจายอยู่ในพื้นที่สีแดงของผื่นเรียกว่า convalescent rash อาจมีการคันร่วมด้วย
ระยะไข้สูง( febrile stage)
มีไข้สูง 39-41 องศาเซลเซียส เป็นนาน 2-7 วัน
ปวดศีรษะ
เบื่ออาหาร
มีอาการหน้าแดง (flushing)
ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ
อาจมีจุดเลือดออกที่ผิวหนังหรือมีอาการเลือดออก
ในอวัยวะอื่น
ตับโตและ กดเจ็บ อาเจียน
มีอากา รปวดท้องบริเวณใต้ลิ้นปี่หรือใต้ชายโครงขวา
การรักษา
กินยาลดไข้กรณีจำเป็น
การดื่มน้ำให้เพียงพอ สารน้ำที่แนะนำได้แก่ น้ำเกลือแร่ น้ำผลไม้
การเช็ดตัวลดไข้บ่อยๆ
งดดื่มน้ำที่มีสีแดง ดำ น้ำตาล
ตรวจนับจำนวนเกร็ดเลือดและค่าฮีมาโตคริต
ให้สารน้ำ เช่น NSS , Ringer’ lactate , Ringer acetatre หรือ 5%D/NSS
ถ้าค่าฮี มาโตคริตไม่ลดลงหรือสูงขึ้น ควรเปลี่ยนสารน้ำที่ให้เป็นแบบ colloid ได้แก่ พลาสมา สารแทน พลาสมา หรืออัลบูมิน
ระมัดระวังภาวะน้ำเกินอาจเกิดในกรณีที่ได้รับปริมาณสารน้ำอย่างมาก ผู้ป่วยมักมีอาการท้องอืด หายใจหอบเหนื่อย ชีพจรแรงและเร็ว
การตรวจภาพรังสีปอดพบภาวะน้ำท่วมปอดร่วมกับขนาดของหัวใจโต ต้องรีบลดปริมาณสารน้ำลงและพิจารณาให้ยาขับปัสสาวะ
ในผู้ป่วยที่มีภาวะชักมาก่อน กินยาลดไข้ควรให้เฉพาะยา acetaminophen ด้วยความระมัดระวัง และใช้ในกรณีที่ไข้สูงมากเท่านั้น
ไม่ควรให้ยาจำพวกแอสไพริน
กรณีศึกษา
งดดื่มน้ำที่มีสีแดง ดำ น้ำตาล
ให้สารน้ำ 5%D/NSS 1000 ml rate 95 ml/hr
พบน้ำเริ่มไหลเข้าไปในปอด
ตับเริ่มอักเสบ
กระตุ้นให้ดื่ม ORS บ่อยๆ