Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปการเรียนรู้หญิงตั้งครรภ์โรคความดันโลหิตสูง, นางศิริธร ยุทธพงษ์ธาดา…
สรุปการเรียนรู้หญิงตั้งครรภ์โรคความดันโลหิตสูง
การรักษาโดยให้ยาลดความดันโลหิต
Labetalol (avera)
เป็นกลุ่มยา beta blocker ไม่ควรใช้นานเพราะอาจเกิด IUGR ได้เป็นยาที่มีฤทธิ์ต้าน 1 และ B-receptor มีชนิดเม็ดและชนิดฉีดฤทธิ์ยาระยะออกฤทธิ์ (duration of action) 3 – 6 ชั่วโมงยาจะออกฤทธิ์ใน (onset) 5-10 นาทีทำให้มีการขยายตัวของหลอดเลือดปลายทางมีผลในการลดความดันโลหิตและยับยั้งการทำงานของระบบประสาทซิมพาเธติกในสมองส่วนกลาง
อาการข้างเคียง
ปวดศีรษะ หัวใจเต้นเร็ว
การดูเเล
ดูแลให้ยาทางหลอดเลือดโดยฉีดช้าๆ 20-80 มิลิกรัมยาจะออกฤทธิ์ใน 5-10 นาทีให้ยาซ้ำทุก 10 นาที
Calcium antagonists
เป็นยาในกลุ่มปิดกั้นน้ำเกลือ calcium chanel blocker รักษาหลอดเลือดหัวใจโดยออกภทธิ์ต่อหลอดเลือดเพื่อป้องกันการเกิด artherosclerosis และใช้ในผู้ป่วยโรคไตและหัวใจวาย4นิดเม็ดและชนิดฉีด ได้แก่ nefedipine 10 mg. หรือ adalat หรือ nicardipine
ฤทธิ์ยา
จะออกฤทธิ์ใน (onset) 5-10 นาทีระยะออกฤทธิ์ (duration of action) 4-5 ชั่วโมง
อาการข้างเคียง
ปวดศีรษะ หัวใจเต้นเร็ว หน้าแดง มึนงง
วิธีให้ยา
ใช้เข็มเจาะเม็ดยา 10 มิลลิกรัม ให้ทางปากโดยบีบลงบนลิ้นให้ผู้ป่วยกลืนทุก 30 นาทียาออกฤทธิ์ใน 10-15 นาทีสามารถให้ยาซ้ำทุก 15-30 นาทีไม่ควรให้ยา nefedipine ใต้ลิ้นเนื่องจากฤทธิ์ของยาอาจจะรุนแรงมากจนเป็นอันตรายต่อมารดาและทารก
Hydralazine
ขนาดของยา 5 mg IV 10-20 นาทียาจะออกฤทธิ์ใน (onset) 5-10 นาทีระยะออกฤทธิ์ (duration of action) 3-6 ชั่วโมง
อาการข้างเคียง
ทำให้ปวดศีรษะ หน้าแดง หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตลดต่ำลง ระคายเคืองทางเดินอาหาร
เป็นยาลดความดันโลหิตนิยมใช้มากที่สุดโดยขยายหลอดเลือด vasodilation ออกฤทธิ์โดยตรงของกล้ามเนื้อเรียบของเส้นเลือดและเพิ่ม cardiac output ขยายเส้นเลือดแดงโดยตรงมีชนิดเม็ดและชนิดฉีดได้แก่ยา hydralazine หรือ apressoline หรือ nepresol ทั้ง 3 ตัวอยู่ในกลุ่ม vasodilation
การดูแล
ดูแลให้ได้รับยา Hydralazine 5 มก. หรือ nepressol 5 มก. หรือ apressoline push ให้ทุก 10-20 นาทีให้ยาช้าๆใน 2 นาที
วัดความดันโลหิตทุก 5 นาทีนาน20นาที
ถ้าไม่ได้ผลให้ซ้ำ 5-10 มิลิกรัมทุก 15-20 นาที
ควบคุมความดันโลหิต diastolic ให้อยู่ระหว่าง 90-100 mmHg
Central acting drug
มีผลต่อปลายประสาท sympathetic ยับยั้งการทำงานของระบบประสาทซิมพาเธติกในสมองส่วนกลางมักใช้ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงเรือรัง central nervous system effect ไม่เหมาะสำหรับใช้ในคนไข้โรคไต ได้แก่ aldomet หรือ methyldropa มีชนิดเม็ดและชนิดฉีดขนาดของยา 0. 5-3. 0 กรัมต่อวัน
ฤทธิ์ยา
ลดความดันโลหิตออกฤทธิ์ใน 30-60 นาทีระยะออกฤทธิ์ 6-8 ชั่วโมงสูงสุด 2-4 ชั่วโมง
อาการข้างเคียง
คัดจมูก ง่วงซึม คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเดิน ปากแห้ง โลหิตจางและตับอักเสบ
ความหมาย
กลุ่มความผิดปกติที่ประกอบด้วยความดันโลหิตสูงที่พบก่อนหรือเกิดขึ้นในระหว่าตั้งครรภ์
ความสำคัญ
สตรีตั้งครรภ์ที่มีความดันโลหิตสูงเกิดขึ้นเมื่อเกิดการตั้งครรภ์ HELLP ทารกเสี่ยงต่อการขาดออกซิเจนจะทำให้ทารกเเละมารดาเสียชีวิต
สาเหตุ
การกระตุ้นของ coagulation system
Permeability ของ capillary เสียไป (capillary leak)
การลดลงของเลือดไปอวัยวะต่างๆของร่างกายซึ่งเป็นผลจากการหดรัดที่รุนแรงของหลอดเลือดทั่วร่างกาย และการกระตุ้นผนังหลอดเลือด (endothelial activation)
มารดาอ้วน
การลดลงของเลือดไปเลี้ยงรกและมดลูก (reduce uteroplacental perfusion) เช่น ครรภ์แฝด รกบวมน้ำ ครรภ์ไข่ปลาอุก เป็นต้น
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่สำคัญ
สตรีตั้งครรภ์เสี่ยงต่ออาการข้างเคียงของ MgSO4
กิจกรรมการพยาบาล
ติดตามประเมินการหายใจทุก 1 ชั่วโมง
ให้ยา MgSO, 10% กรัม Push ใน 6-10 นาที
ติดตาม DTR ทุก 1 ชั่วโมง ถ้า < +1 หรือ abscent รายงานแพทย์
0 ไม่มีการตอบสนอง
+1 การตอบสนองเล็กน้อย
+2 มีเห็นได้ชัด
+3 เพิ่มขึ้นค่อนข้างไว
+4 ไวมากพบ clonus
ดูแลให้ได้รับ MgSO, 50% 20 gms + 5D/N/2 1000 cc. (v) drip โดยให้ 1-2 gms / hr.
บันทึกจำนวนปัสสาวะทุก 1 ชั่วโมง เพราะยาจะถูกขับออกทางไตถ้าปัสสาวะออกน้อยระดับยาอาจสูงจนเป็นอันตรายกับผู้ป่วยได้ ถ้า <30 cc./hr. รายงานแพทย์
ติดตามการตรวจ MgSO, ในเลือดหลังให้ยา 1-2 ชั่วโมง
ติดตามอาการของ hypermagnesiumnemia ได้แก่ ร้อนวูบวาบคลื่นไส้อาเจียนความดันโลหิตลดลงหายใจช้าลง DTR ช้าลง, กล้ามเนื้อปวด
เตรียม 10% Calcium gluconate เป็น antidote ของ MgSo, ฉีดเข้าหลอดเลือดดำช้าๆถ้าพบหายใจช้าลงเพื่อแก้ไขการกดของระบบหายใจ
สตรีตั้งครรภ์เสี่ยงต่อภาวะ HELLP Syndrome
กิจกรรมการพยาบาล
ติดตามอาการจุดจำตามตัวที่เลือดออก, เลือดออกง่าย ตัวเหลือง ตาเหลือง
ติดตามผล LFT, SGOT, SGPT สูงเป็น 2 เท่ารายงานแพทย์, Alkaline Phosphatase ถ้าสูงแสดงว่ามีการบกพร่องในการทำงานของตับ
เตรียม Platelet และดูแลให้ Platelet ถ้า platelet น้อยกว่าหรือเท่ากับ 100000 ลบ. ซม. ในกรณี Platelet ตำเพราะมีการใช้เกร็ดเลือดไปจับกันตามเส้นเลือดที่ถูกทำลาย
ติดตามผล LDH, platelete
เสี่ยงต่อการชัก เนื่องจากสตรีตั้งครรภ์เป็น severe preeclampsia
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลให้พักผ่อนบนเตียงและทำกิจวัตรประจำวันบนเตียงให้มากที่สุด
จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบมากแสงเสียงและการสัมผัส
และดูแลให้ MgSO4 (50%) 10 grams + 5 / D / N / 2 1000 cc. (V) drip ตามแผนการรักษาของแพทย์ขณะตั้งครรภ์และให้จนครบ 24 ชั่วโมง หลังคลอดเพื่อป้องกันการชักออกฤทธิ์ที่ปลายประสาทกลางป้องกันการชักทำให้เกิดกคระบบประสาท Peripheral Neuromuscular Block
สังเกต prodormal symptoms ของการชัก ได้แก่ ปวดศีรษะมาก ตาพร่ามัว จุกแน่นยอดอกหรือลิ้นปีหรือใต้ชายโครงอย่างรุนแรง ถ้าพบแสดงว่าใกล้ชัก
วัดความดันโลหิตทุก 4 ชั่วโมง ช่วงตื่นนอนยกเว้นเวลาหลับ
ชั่งน้ำหนักทุกอาทิตย์
ดูแลให้ได้รับ MgSO, (10%) Push ใน 6-10 นาที
สังเกตอาการบวมกดปุ่มที่ขา
บวม 1 + กดปุ่ม 2 ม.ม.และจะหายไปทันที
บวม 2 + กดปุ่ม 4 ม.ม.และจะหายไปใน10-15 วินาที
บวม 3 + กดปุ่ม 6 ม.ม.และจะหายไปใน 1 นาที
ตรวจ deep tendon reflexs ทุก 4 ชั่วโมงถ้าพบ DTR เพิ่มขึ้นแสดงว่าใกล้ชัก
ตรวจปัสสาวะทุกวันเพราะมีความสัมพันธ์กับความรุนแรงของโรค
วัด Urine protein 24 ชั่วโมงสัปดาห์ละ2ครั้งถ้าค่าสูงแสดงว่าอาการของโรคแย่ลงค่าปกติ <150mg. 24 hr.
การช่วยคลอดSevere preeclampsia อาจช่วยคลอด VE หรือ FE ทางช่องคลอด
เตรียมอุปกรณ์เมื่อมีอาการชักให้พร้อมและเตรียมอุปกรณ์ทำคลอดให้พร้อม
ทารกในครรภ์เสี่ยงต่อภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจากมารดาเป็นความดันโลหิตสูงเนื่องจากการตั้งครรภ์รุนแรง (severe preeclampsia)
กิจกรรมการพยาบาล
ถ้าลูกดิ้นน้อยกว่า 3 ครั้งให้นับต่อไปอีก 30 นาทีหรือแนะนำมารดานับเด็กดิ้นของทารกนับการดิ้น 09.00-21.00 น.หรือนับการดิ้น 07.00-19.00 น.หรือนับการดิ้น 08.00-20.00 น .
ฟังเสียงหัวใจทารกทุกชั่วโมงหรือเป็นระยะสม่ำเสมอ
แนะนำมารดานับเด็กดิ้นของทารกโดยนับการดิ้นหลังอาหาร 1 ชม. และเอามือจับที่ท้องเป็นเวลา 1 ชั่วโมงถ้าลูกดิ้น 3 ครั้ง ขึ้นไปถือว่าปกติ
ติดตาม NST ทดสอบเมื่อ 30-32 สัปดาห์ถ้ามี deceleration แสดงว่าอาจมี fetal distress อาจเกิดจากเลือดมาเลี้ยงรกไม่ดีสายสะคือถูกกดรก infarct มีหินปูนมาเกาะ
แนะนำให้มารดานอนตะแคงซ้ายเพื่อเพิ่มปริมาณเลือดสู่มดลูกและทารกเพิ่ม
ติดตามผล AFI ถ้าลดลงต่ำกว่า 5 ซม. แสดงว่าทารกเสี่ยงต่อการขาดออกซิเจน
ติดตามผล BPP (biophysical profile) อย่างน้อยสัปดาห์ละ 2 ครั้ง
ติดตามผล doppler EDF
สตรีตั้งครรภ์มีภาวะความดันโลหิตสูง เนื่องจากการตั้งครรภ์
กิจกรรมการพยาบาล
แนะนำให้นอนตะแคงซ้ายเพื่อไม่ให้ความดันโลหิตเพิ่ม และปริมาณเลือดไปเลี้ยงที่ไตมาก
ไม่จัดให้นอนราบเพราะจะทำให้ความดันโลหิตสูงเพราะขนาดมดลูกอายุครรภ์ 28-32 สัปดาห์จะกดหลอดเลือดแดงใหญ่ inferior venacava ให้ตีบลงทำให้เลือดเข้าสู่ไตน้อยลงมีปฏิกริยาต่อ angiotensin I, II, จะทำให้หลอดเลือดบีบตัวความดันโลหิตจะเพิ่มขึ้น
แนะนำให้นอนพักบนเตียง (absolute bed rest) มากที่สุดโดยนอนกลางวัน 2 ชั่วโมง กลางคืน 8 ชั่วโมง จะทำให้ renin angiotensin ลดลงและความดันโลหิตจะลดลงตามมา
สังเกตอาการปวดศรีษ
ดูแลให้ยาในกลุ่มออกฤทธิ์ต้านแคลเซียม (calcium antagonism) คือยา nitidipine 1 x 2 pc ทำให้มีการขยายหลอดเลือดปลายทาง มีผลทำให้ลดความดันโลหิตรักษาหลอดเลือดหัวใจโดยออกฤทธิ์ต่อหลอดเลือด เป็นกลุ่มปิดกั้นเกลือแร่ เพื่อป้องกันการเกิด artherosclerosis และใช้ในผู้ป่วยโรคไต
วัดความดันโลหิตทุก 5 นาทีจนครบ 20 นาทีถ้า Diastolic <110 mmHg ให้ยาซ้ำอีก (Hydralazine 5-10 mg. (v) push)
ชนิดของสตรีตั้งครรภ์ที่มีความดันโลหิตสูง (hypertensive disorder in pregnancy)
ความดันโลหิตสูงเนื่องจากการตั้งครรภ์ (pregnancy induce hypertension) (PIM)
ความหมาย
ความดันโลหิตสูงเนื่องจากการตั้งครรภ์พบได้ร้อยละ80ของ hypertensive disorder in pregnancy เกิดขึ้นหลังอายุครรภ์ 20 สัปดาห์ทำการวัดโดยมีค่า systolic ตั้งแต่ 140 มิลลิเมตรปรอทหรือ diastolic ตั้งแต่ 90 มิลลิเมตรปรอทอย่างน้อย 2 ครั้งห่างกัน 4-6 ชั่วโมง
การแบ่งชนิด
Preeclampsia
หมายถึง กลุ่มอาการที่เกิดเนื่องจากการตั้งครรภ์ที่มีการลดลงของเลือดที่ไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆของร่างกายซึ่งเป็นผลจากการหดรัดตัวที่รุนแรงของหลอดเลือดทั่วร่างกายและการกระตุ้นผนังที่หลอดเลือด (endothelial activation) มักพบในครรภ์แรกมากกว่าครรภ์หลัง preeclampsia แบ่งได้เป็น 2 ชนิด
1 Mild preeclarmpsia
-เกิดหลัง 20 สัปดาห์
-มีความดันโลหิตสูงมากกว่าหรือเท่ากับ 140/90 mmHg ซึ่งพบเป็นครั้งแรกขณะตั้งครรภ์
มีภาวะบวมที่ผิดปกติ
ร่วมกับการมีโปรตีนในปัสสาวะ มากกว่าหรือเท่ากับ 300 มก. / 24 ชม. หรือโปรตีนในปัสสาวะ dipstick 1+ หรือ 2+โดย WHO เน้นการมีไข่ขาวในปัสสาวะ
การรักษาพยาบาล mild preeclampsia
ตรวจสุขภาพทารกในครรภ์
ไม่ใช้ยาลดความดันโลหิตหรือยาขับปัสสาวะ
แนะนำการปฏิบัติตัว
-ชั่งน้ำหนักทุกวันถ้าเพิ่มมากกว่า 1 lbsใน1สัปดาห์มาพบแพทย์
-วัดความดันโลหิตอาทิตย์ละ 2 ครั้งถ้า มากกว่าหรือเท่ากับ 140/90 mmHg มาพบแพทย์
-สังเกตอาการปวดศีรษะปวดท้ายทอยตาพร่ามัวเวียนศีรษะจุกแน่นลิ้นปีบวมที่แขนขา
-ตรวจปัสสาวะหาไข่ขาวทุกวัน
-รับประทานอาหารที่มีประโยชน์โปรตีนสูงรวมทั้งอาหารที่มีกากใยสูง แนะนำดื่มน้ำวันละ 8-10 แก้ว
-สังเกตปัสสาวะออกน้อยรายงานแพทย์
-จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบ
-สังเกตการดิ้นของทารก
-แนะนำให้นอนพักผ่อนบนเตียงทำให้เลือดไหลเวียนสู่หัวใจและมดลูกดีขึ้น
2 Severe Preeclampsia
-โปรตีนในปัสสาวะ มากกว่าหรือเท่ากับ 5 กรัม/ลิตร ในปัสสาวะที่เก็บ 24 ชั่วโมง
-โปรตีนในปัสสาวะ dipstick 3+, 4+
-บวม
-Serum creatinine สูงขึ้นมากกว่า 1. 2 มิลลิกรัม/เดซิลิตร
-ค่าความดันโลหิต มากกว่าหรือเท่ากับ 160/10 mmHg วัด 2 ครั้ง ห่างกัน 6 ชั่วโมงขณะนอนพัก
-Liver enzyme เพิ่มภาวะhyperbilirubinermia
-ปวดศีรษะมากตาพร่ามัวจุกแน่นลิ้นปี่เจ็บชายโครงขวา
-ตรวจพบเกร็ดเลือดต่ำ (thrombocytopenia) <100, 000 per ml
การรักษาพยาบาล severe preeclampsia
มีโอกาสชักได้สูงควรให้ยาป้องกันการชักMgSO4
ทำให้ครรภ์สิ้นสุดลงโดยเร็วภายหลังให้ MgSO4 เป็นเวลา 4-6 ชั่วโมงโดยพิจารณาให้คลอด
ให้ยาลดความดันโลหิต
อายุครรภ์น้อยกว่า 34 สัปดาห์อาจพิจารณาให้ corticosteroids เร่งความพร้อมของปอดทารกและให้คลอคภายใน 48 ชั่วโมงการคลอดช่วยคลอดโดย VE หรือ C/S
Eclampsia
หมายถึง ผู้ป่วยมีภาวะชักร่วมกับ pre ecclampsia มีความรุนแรงมากที่สุดมีอาการชักเกร็งการชักเกร็งจะชักทั้งตัว (grand Imal) แบบกระตุก (clonic convulsion) ร่วมกับอาการแสดงของ pregnancy induce hypertension
ผลของโรคต่อมารดา
เส้นเลือดในสมองแตกหัวใจวายน้ำท่วมปอด ตับวาย ไตวายเฉียบพลัน
เสียสมดุลย์อิเลคโตรไลต์
ความผิดปกติของตา
HELP Sydrome เป็นภาวะแทรกซ้อนที่พบความผิดปกติในระบบอวัยวะต่างๆหลายระบบ
EL = Elevate liver enzyme (การเพิ่มขึ้นของเอมไซม์ตับ)
LP = Low platelet (การมีเกร็ดเลือดต่ำ) <100, 000 per ml
H = Hemolysis (การแตกของเม็ดเลือดแดง total bilirubin> 1. 2 mgal)
การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ fibrinogen ต่ำ
รกลอกตัวก่อนกำหนด (abruptio placenta)
มารดาเสียชีวิต
ภาวะแทรกซ้อนระยะหลัง
สตรีตั้งครรภ์ที่มีความดันโลหิตสูงเนื่องจากการตั้งครรภ์ชนิดรุนแรง (severe preeclampsia) หรือชักมีภาวะ (eclampsia) มีโอกาสเป็นซ้ำในครรภ์ต่อไปร้อยละ 15-30
อาจเกิดความดันโลหิตสูงถาวรได้ร้อยละ 30-50
ผลของโรคต่อทารก
แท้งหรือคลอดก่อนกำหนด
ทารกขาดออกซิเจนเพราะรกเสื่อม
ทารกจะเจริญเติบโตช้า (IUGR) หรือน้ำหนักน้อยเนื่องจากการส่งอาหารจากมารดา สู่ทารกน้อยเกิด uteroplacental insufficiency ทำให้ทารกขาดออกซิเจน
ทารกเสียชีวิต
การรักษาพยาบาล eclampsia
ให้ MgSO, เพื่อป้องกันการชักเตรียม 10% Calcium gluconate 1 gm เป็น antidote ของ MgS04
ป้องกันการกัดลิ้นโดย oral air way
ปัจจัยเสี่ยง (risk factors)
ประวัติครอบครัวและมีประวัติครรภ์ก่อนเป็นความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ครรภ์แรกครรภ์แฝด
อายุน้อยกว่า 20 ปีหรืออายุมากกว่า 35 ปี
เบาหวานก่อนการตั้งครรภ์
ดรรชนีมวลกายมากกว่า 35 กิโลกรัมต่อตารางเมตร
การป้องกัน
แนะนำให้รับประทานยาแคลเซี่ยมขนาด 1 กรัม / วันจะลด Preeclampsia ได้ 0. 45 เท่าและนมจืดพร่องมันเนย (1 ส่วน) 240 มิลลิลิตรมีธาตุแคลเซียม 300 มิลลิกรัมถ้าวันละ 3 กล่องจะได้ธาตุแคลเซียม 900 มิลลิกรัม
การให้ยา low dose aspirin ให้ในสตรีรายที่มีความเสี่ยงสูงโดยให้ก่อนการตั้งครรย์ 16 สัปดาห์ลดการเกิด preeclampsia ลงได้ 0. 47 เท่าโดยให้ ASA 60-150 mg.
ลดอาหารเค็มของดองผงชูรส
งดสุรากาแฟ
แนะนำพักผ่อนให้เพียงพอนอนหลับกลางคืน 6-8 ชั่วโมงนอนช่วงกลางวัน% ถึง 1 ชั่วโมง
แนะนำให้รับประทานอาหารมีโปรตีนสูงและอาหารหลัก 5 หมู่
ควบคุมน้ำหนักไม่ให้เพิ่มเกิน
ความดันโลหิตสูงเรือรัง (chronic hypertension หรือ coincidental hypertension)
ความหมาย
ผู้มีความดันโลหิตสูง มากกว่าหรือเท่ากับ 140/90 mmHg เป็นอยู่ก่อนการตั้งครรภ์หรือก่อนสัปดาห์ที่ 20 หรือคงอยู่นาน 12 สัปดาห์หลังคลอด chronic hypertension เสี่ยงต่อ superimposed ร้อยละ 15-25
ภาวะแทรกซ้อน
-เป็น superimposed pre-eclampsia
-มีพยาธิสภาพความดันโลหิตสูงที่เป็นมานานได้แก่พบตาหัวใจโต BUN เพิ่มขึ้นการคลอดดูแลให้คลอดเมื่อครบ 37 สัปดาห์
ความดันโลหิตสูงเรือรังร่วมกับครรภ์เป็นพิษซ้ำเติม (chronic hypertension with superimposed หรือ pregnancy aggravate hypertension)
หมายถึง
ความดันโลหิตสูงเรือรังที่มีอยู่ก่อนแล้วหรือเกิดก่อน 20 สัปดาห์ แล้วเกิด preeclampsia หรือ eclampsia โดยทั่วไปมักพบ preeclampsia หรือ eclampsia หลังอายุครรภ์ 24 สัปดาห์
การแบ่งชนิด
3.1 Chronic Hypertension with superimposed preeclampsia เป็นความดันโลหิตสูงเรื้อรังอยู่ก่อน Diastolic เพิ่ม 15 mmHg หรือมากกว่า systolic เพิ่ม 30 mmHg หรือมากกว่าร่วมกับบวมผิดปกติโปรตีนในปัสสาวะ 300 มก. ต่อ 24 ชั่วโมง
3.2 Chronic hypertension with superimpose eclampsia เหมือน Superimposed Preeclampsia และมีอาการชักร่วมด้วย
ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ (gestational hypertension)
หมายถึง
การตั้งครรภ์ที่มีความดันโลหิตสูงขึ้นโดยความดันโลหิต> 140/90 mmHg เกิดขึ้นครั้งแรกขณะตั้งครรภ์โดยไม่เคยเป็นความดันโลหิตสูงมาก่อนและวัดอย่างน้อย 2 ห่างกัน 6 ชั่วโมงจะกลับสู่ปกติภายใน 12 สัปดาห์หลังคลอดการวินิจฉัยจะทำได้เมื่อหลังคลอดเท่านั้น
ชนิดของการผ่าท้องทำคลอด
Lower segment cesarean section คือการผ่ามดลูกทบริเวณส่วนล่าง
Classical cesarean section คือการผา่ มดลูกบริเวณส่วนบนตามแนวตั้ง
นางศิริธร ยุทธพงษ์ธาดา เลขที่ 82
หรัสนักศึกษา 82111301085