Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลอื่น - Coggle Diagram
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลอื่น
ความหมาย
การรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลอื่นกล่าวคือเป็นการที่บุคคลหนึ่งต้องมีส่วนร่วมในการรับผิดในการกระทำละเมิดของอีกบุคคลหนึ่ง เนื่องจากสาเหตุหรือสัญญาที่กฎหมายได้กำหนดไว้ [ซึ่งในการรับจะพิจารณาตามหัวข้อนี้
การที่นายจ้างร่วมรับผิดในการกระทำละเมิดของลูกจ้าง
เนื่องจากการทำละเมิดของลูกจ้างอยู่ในระหว่างการทำงานเพื่อนายจ้าง กฎหมายจึงกำหนดให้ลูกจ้างต้องรับผิดในการละเมิดเป็นลูกหนี้ร่วมด้วย
พื้นฐานความรับผิด
:no_entry:
(ก) นายจ้างทำงานโดยอาศัยการงานของลูกจ้าง
เพราะนายจ้างได้ประโยชน์จากการงานที่ลูกจ้างทำ
(ข) นายจ้างเป็นคนควบคุมในการสั่งงานให้แก่ลูกจ้าง
เพราะถือว่านายจ้างควบคุมดูเเลไม่ดี
(ค) การช่วยเหลือซึ่งกันเเละกันของลูกจ้างและนายจ้าง
เพราะการที่นายจ้างทำการงานสำเร็จเพราะลูกจ้างช่วย
(ง) นายจ้างมีฐานะทางเศรษฐกิจดีกว่าลูกจ้าง
เพราะเหตุผลนี้มุ่งคุ้มครองแก่ผู้เสียหารที่ต้องได้รับค่าสินไหมทดแทน
ลักษณะของความรับผิด
:green_cross:
นายจ้างต้องร่วมรับผิดในทางละเมิดของลูกจ้าง สามารถแบ่งได้ 2 ลักษณะ ซึ่งในกฎหมายไทย ความรับผิดของนายจ้างต้องรับผิดทางตรงเท่านั้น
ความรับผิดโดยตรง (direct responsibility)
เป็นความรับของนายจ้างทันที่ที่ลูกจ้างกระทำการละเมิด นายจ้างไม่สามารถพิสูจน์ให้ตนพ้นความผิดได้
ความรับผิดโดยอ้อม (indirect ersponsibility)
เป็นความรับผิดที่นายจ้างเลือกลูกจ้างไม่ดี นายจ้างสามารถพิสูจน์ให้ตนพ้นจากการรับผิดได้
หลักเกณฑ์ที่ทำให้นายจ้างต้องร่วมรับผิดในละเมิดลูกจ้าง
:warning:
นายจ้างต้องเข้าหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ถึงจะต้องรับผิดในละเมิดลูกจ้าง
ลูกจ้างกระทำการละเมิดเข้าองค์ประกอบตามมาตรา 420
เช่น นายจ้างมอบหมายให้ลูกจ้างไปทาสีบ้าน ในขณะลูกจ้างปฏิบัติการทาสี สีหกโดนรถของเจ้าของบ้านเป็นต้น
ลูกจ้างกระทำการละเมิดในขณะที่ปฏิบัติตามหน้าที่ที่นายจ้างรับมอบหมาย
(2) ลูกจ้างได้ทำละเมิดขนาดที่ได้ปฏิบัติงานนอกเหนือหน้าที่
เช่น ลูกจ้างได้รับหน้าที่ขับรถประจำทางสายอุดร-สารคาม ในวันหนึ่งนายจ้างให้ลูกจ้างขับรถประจำทางไปส่งตนไปสนามบินในขณะเดินทางรถเกิดไปชนกับนาง ข เป็นต้น
(3) ลูกจ้างกระทำละเมิดในระหว่างเวลางาน
เช่น นายจ้างมอบหมายให้ลูกจ้างไปทาสีบ้าน ในขณะลูกจ้างปฏิบัติการทาสี สีหกโดนรถของเจ้าของบ้านเป็นต้น
(1) ลูกจ้างทำละเมิดในขณะปฏิบัติหน่าที่ที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติเป็นประจำ
เช่น. ลูกจ้างได้รับมอบหมายให้ขับรถประจำสายอุดร-สารคาม ในขณะนั้นได้เกิดอุบัติเหตุลูกจ้างขับรถชนนาย ก เป็นต้น
(4) ลูกจ้างทำละเมิดในช่วงเวลาที่เป็นผลสืบเนื่องมาจากปฏิบัติงาน
เช่น ลูกจ้างได้รับหน้าที่ขับรถประจำทางสายอุดร-สารคาม ในวันหนึ่งนายจ้างให้ลูกจ้างขับรถประจำทางไปส่งตนไปสนามบินเเละได้ขับรถกลับไปยัง ขบส ลูกจ้างหลับจึงไปชนกับนาง ค เป็นต้น
(5) ลูกจ้างทำละเมิดในช่วงปฏิบัติการเพื่อประโยชน์ให้แก่นายจ้างไม่ว่าอยู่ในช่วงเวลางานหรือไม่ หรืออะนอกลู่นอกทางก็ตาม
เช่น ลูกจ้างไปส่งของที่ต่างจังหวัดหลังจากส่งของเสร็จเรียบร้อยเเล้ว ขากลับลูกจ้างแวะไปเอาของที่บ้านตนเเละเกิดอุบัติเหตุ ก็ยังถือว่าอยู่ในช่วงเวลากระทำประโยชน์ให้นายจ้างอยู่เนื่องจากลูกจ้างจะกลับไปบริษัท
มีสัญญาจ้างแรงงานตามมาตรา575
-สัญญาจ้างเเรงงานเป็นสัญญาต่างตอบแทน คือนายจ้างมีหน้าที่จ่ายค่าตอบแทนให้แก่ลูกจ้างส่วนลูกจ้างมีหน้าที่ปฏิบัติงานตามนายจ้างมอบหมาย
ผลของความรับผิด
:red_cross:
ลูกจ้างต้องรับผิดในการกระทำละเมิดของตนตามมาตรา 420
โดยหลักคือใครทำละเมิดคนนั้นต้องรับผิด
นายจ้างต้องรับผิดร่วมด้วยตามมาตรา425
(โดยรับผิดในลักษณะลูกหนี้ร่วม)
-ลูกหนี้ร่วมเป็นไปตามมาตรา 291 (ผู้เสียหายสามารถฟ้องลูกหนี้คนใดคนหนึ่งชำระหนี้เพียงคนเดียวก็ได้(นายจ้าง)
ผู้เสียหายสามารถเรียกค่าสินไหมทดแทนจากนายจ้างโดยตรงได้
-นายจ้างชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้ผู็เสียหายเเล้ว สามารถไล่เบี้ยค่าสินไหมกับลูกจ้างได้ตามมาตรา 426
การที่ตัวการต้องรับผิดในการกระทำละเมิดของตัวแทน
เนื่องจากตัวการตัวแทนจะคล้ายๆนายจ้างกับลูกจ้าง มาตรา427 ความรับผิดนั้นให้ใช้หลัก มาตรา 425และมาตรา426
ลักษณะการรับผิด
:recycle:
ในการรับผิดอันเนื่องมาจากผู้แทนกระทำการละเมิดต้องรับผิดโดยตรงตัวการไม่สามารถพิสูจน์หักล้างเป็นประการอื่น
หลักเกณฑ์ที่ทำให้ตัวการต้องรับผิด
:warning: :
ตัวการต้องเข้าหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ถึงจะต้องรับผิดในละเมิดตัวแทน :
มีนิติสัมพันธ์ของการเป็นตัวการตัวเเทนตามสัญญาตัวเเทนตามมาตรา 797
(ก)ตัวเเทนเฉพาะการ
-ตัวแทนที่กระทำการเฉพาะเรื่องเท่านั้น
(ข)ตัวเเทนรับมอบอำนาจทั่วไป
-ตัวแทนที่กระทำการภภายมนกรอบกว้างๆที่ได้รับมอบ
หมายเหตุ
ตัวเเทนต้องไม่มีสิทธิและความรับผิดเป็นการส่วนตัวกับบุคคลภายนอก
ตัวแทนทำละเมิดต่อบุคคลภายนอกครบองค์ประกอบตามมาตรา420
เช่น ตัวการมอบหมายให้ตัวแทนขายรถให้ ก ในขณะที่ ก มาดูรถ ด้วยความที่ตัวแทนไม่มีความสารถในเรื่องรถ จึงทำรถระเบิดและทำให้ ก บาดเจ็บ ถือว่าผู้แทนกระทำละเมิดต่อร่างการ ก
ละเมิดที่เกิดจากตัวแทนทำงานที่ได้รับมอบหมายเเละอยู่ภายในขอบอำนาจ
เช่น ตัวแทนได้รับอำนาจขายรถกับตัวการเเต่ตัวเเทนกลับเอารถไปขับเล่นเเละเกิดอุบัติเหตุ ชน ข ถือว่าละเมิดเกิดนอกเหนือจากขอบเขต
ผลของความรับผิด
:red_cross:
ตัวแทนรับผิดในการทำละเมิดของตนตามมาตรา420
โดยหลักการตัวแทนทำละเมิด
ตัวการรับผิดร่วมด้วยตามาตรา427ประกอบมาตรา425
-ร่วมรับผิดในสถานะลูกหนี้ร่วม
ไล่เบี้ย
-ตัวการสามารถไล่เบี้ยเอาค่าชดใช้ให้ผู้เสียหายไปก่อนกับแทนได้ ตามมาตรา427ประกอบมาตรา426 (โดยใช้หลักตัวการมิได้เป็นผู้ทำละเมิด)
ข้อสังเกต
คนที่ไม่ใช่ตัวแทนในความหมายของมาตรา797
ผู้แทนตามกฎหมาย เช่น ผู้เเทนโดยชอบธรรม เนื่องจากการที่ผู้เเทนโดยชอบธรรมได้กระทำการแทนผู้เยาว์เท่ากับผู้เยาว์ได้กระทะการเอง เเละที่สำคัญคือมิได้เกิดจากการตกลงกันตามาตรา 797
nuncius เนื่องจากบุคคลที่มีหน้าที่มีหน้าที่พูดตามถ้อยคำที่ได้รับสั่งเปรียบเสมือนเทป
นิติบุคคล เนื่องจากนิติบุคคลเปรียบเสมือนตัวนิติบุคคลเอง
การที่บิดามารดาหรือผู้ร่วมอนุบาลต้องร่วมรับผิดในการกระทำละเมิดของผู้เยาว์หรือคนที่ศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ ตามาตรา429และมาตรา430
-ซึ่งการรับผิดในกรณีนี้จะเเยกออกพิจารณาทีละมาตรา
ความหมายของผู้ไร้ความสามารถตามมาตรา 429
ผู้ไร้ความสามารถตามมาตรานี้คือ
ผู้เยาว์ เเละคนวิกลจริตที่ศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ
ซึ่งแยกพิจารณาความรับผิดออกเป็น 2ส่วน คือ ส่วนที่ผู้ไร้ความสามารถรับผิดของตนเองและบิดามารดาหรือผู้อนุบาลต้องร่วมรับผิด
ความหมายของผู้ไร้ความสามารตามมาตรา429 คือผู้เยาว์และบุคคลวิกลจริตที่ศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ แต่ในมาตรา429ไม่ถือคนเสมือนไร้ความสามารถเป็นคนไร้ความสามารถเนื่องจากคนเสมือนไร้ความสามารถสามารถทำนิติกรรมได้ด้วยตนเองเเละในการกระทำการละเมิดคนเสมือนไร้ความสามารถยังสามารถรับผิดด้วยตนเองได้
การที่บิดามารดาที่ชอบด้วยกฎหมายต้องร่วมรับผิดในการทำละเมิดของบุตรผู้เยาว์ตามมาตรา429
-เนื่องด้วยสายสัมพันธ์ที่บิดาการกระทำส่วนหนึ่งของบุตรบางส่วนเกิดจากการอบรมของบิดามารดา กฎหมายจึงให้บิดามารดาต้องรับผิดร่วมในการที่บุตรกระทำการละเมิด
หมายเหตุนี้รวมผู้อนุบาลด้วย
พื้นฐานความคิด
ในการทำละเมิดของบุตรกฎหมายสันนิษฐานว่าเกิดจากบิดามารดาบกพร่องเนื่อจากบิดามารดามีหน้าที่อบรมสั่งสอนบุตรเเต่อย่างไรก็ตามกฎหมายยังให้บิดามารดาพิสูจน์ว่าการที่บุตรกระทำการละเมิดตนมิได้บกพร่องในหน้าที่ เพื่อความยุติธรรมแก่ผู้เป็นบิดามารดา
ลักษณะของการรับผิด
:checkered_flag:
การที่บิดามารดารับผิดร่วมในการทำละเมิดของบุตรเป็นการรรับผิดทางอ้อมเนื่องจากกฎหมายยังให้โอกาสบิดามารดาพิสูจน์หักล้างว่าตนได้ใช้ความระมัดระวังในการดูแลบุตร
หลักเกณฑ์ที่ทำให้บิดามารดาต้องร่วมรับผิด
:warning:
บุตรผู้เยาว์ต้องการทำการละเมิดครบองค์ประกอบมาตรา420
หลักคือ ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อ กระทำต่อบุคคลอื่นผิดกฎหมาย ทำให้เขาเสียหารแก่ชีวิต ร่างการ อนามัย เสรีภาพ ทรัพย์สินหรือสิทธิอย่างใดอย่างหนึ่งถือว่ากระทำละเมิด ต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
หมายเหตุ
ผู้เยาว์อายุน้อยไม่มีวุฒิภาวะย่อมไม่ถือว่าเป็นการกระทะละเมิดเนื่องจากไม่ครบองค์ประกอบ ม420
ตัวอย่างผู้เยาว์กระทำละเมิด เด็กอายุ 5 ขวบ นั่งเล่นอยู่หน้าบ้าน ในขณะนั้นนาย ก เดินมาเล่นกับเด็ก เด็ก 5 ขวบจึงโยนกอนหินใส่นาย ก ทำให้นาย ก หัวแตก กล่าวคือเด็ก 5 ขวบกระทำการละเมิดในทางร่างกายต่อนาย ก ตามมาตรา420
ตัวอย่างผู้เยาว์กระทำการไม่ถือเป็นการกระทำละเมิด เด็กอายุ 1 ขวบ นอนอยู่กับมารดา นาย ก เข้าไปหอม เท้าของเด็กไปโดยตานาย ก ทำให้ตาบวม กรณีนี้ผู้เยาว์ไม่มีวุฒิภาวะที่จะรู้สำนึกจึงไม่ครบองค์ประกอบมาตรา420เป็นต้น
บุตรผู้เยาว์มีบิดามารดาที่ชอบด้วยกฎหมาย เพราะบิดามารดามีหน้าที่ตามกฎหมายคืออบรมสังสอนผู้เยาว์
แยกพิจารณาออกเป็น 2 กรณี
หน้าที่ที่เกิดจากบิดามารดาที่ชอบด้วยกฎหมาย
เกิดจาก -มารดานั้นชอบด้วยกฎหมายเสมอ
-บิดามารดาสมรสกันจึงมีบุตร
-บิดามารดาที่สมรสกันภายหลัง
-บิดาที่รับรองบุตร
-ผู้รับบุตรบุญธรรมหน้าที่อันเกิดจากฝ่า
หน้าที่ตามกฎหมายอาจเกิดจาการรับบุตรบุญธรรม
การรับบุญบุญธรรมบิดามารดาบุญธรรมก็ย่อมมีสิทธิที่จะอบรมสั่งสอนบุตรได้ตามกฎหมาย
ผลของความรับผิด
:red_cross:
ไล่เบี้ย
เนื่องจากบิดามารดาได้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่ผู้เสียหาย กฎหมายจึงให้สิทธิในการไล่เบี้ยคือกับผู้เยาว์ได้ตามมาตรา426
หมายเหตุ
แต่ในกรณีข้อเท็จจริงคงไม่มีบิดามารดาคนไหนไล่เบี้ยเอาค่าสินไหมคือกับผู้เป็นบุตร
บิดารมารดามีหน้าที่อบรมสั่งสอนดูแลตามกฎหมายร่วมรับผิด
เนื่องจากผู้เยาว์ได้กระทำการละเมิดซึ่งกฎหมายสันนิฐานว่าบิดามารดาพกพร่องต่อหน้าที่จึงต้องรับผืดร่วมในฐานะ ลูกหนี้ร่วมตามมาตรา291
การที่ผู้เยาว์รับผิดในการทำละเมิดของตน
ซึ่งในข้อเท็จจริงผู้เยาว์มิอาจชดใช้ค่าสินไหมได้เนื่องจากไม่มีทรัพย์ที่จะมาชดใช้กฎหมายจึงกำหนดประการต่อไป
ข้อยกเว้น
:check:
กรณีที่บิดามารดาสามารถพิสูจน์ยกเว้นความรับผิดได้เพราะตนใช้ความระมัดระวังสมแก่หน้าที่
3.บิดามารดาอนุญาติให้บุตรไปทำงาน -หน้าที่ดูแลอยู่หัวหน้างาน
4.บิดามารดามอบหมายให้บุคคลอื่น เช่นเพื่อนบ้าน พี่เลี้ยง
2.บิดามารดาส่งบุตรผู้เยาว์ไปโรงเรียน -หน้าที่ดูแลอยู่กับครู
5บิดามารดารใช้ความระมัดระวังอื่นๆ
-ระวังระวังเเล้วเเต่ก็ยังเกิด เช่น ผู้เยาว์เอาปืนยิง ก ได้รับบาดเจ็บ และบิดามารดาได้พิสูจน์แล้วว่าเก็บปื่นไว้ในที่ๆปลอดภัยแล้วเเต่ก็ยังเห็น
1.บิดามารดาส่งบุตรผู้เยาว์ไปอยู่กับตายาย -หน้าที่ดูแลอยู่กับตาและยาย
กรณีบิดามารดาไม่อาจพิสูจน์ข้อยกเว้นความผิดได้
บิดามารดามอบหมายให้บุคคลที่ไม่มีวุฒิภาวะเพียงพอในการดูแล ตัวอย่าง บิดาฝากผู้เยาว์ไว้กับพี่สาวอายุ 13 ปี ให้ดูแล หลังจากนั้นตนก็ไปตลาด ปรากฏว่าผู้เยาว์ได้เอาก้อนหินโยนใส่ ก เป็นตน
กรณีการปล่อยปละละเลยของบิดามารดามาก่อน เช่น มารดาไปส่งผู้เยาว์ไปโรงเรียนปรากฏว่ามารดาไม่ได้ตรวจสอบให้ชัดว่าผู้เยาว์เอามีดใส่กระเป๋ามาด้วย หลังจากนั้นผู้เยาว์จึงได้ไปแทงนาย ก จนได้รับบาดเจ็บ เป็นต้น
กรณีที่ผู้เยาว์อยู่กับบิดามารดาในขณะเกิดเหตุ ตัวอย่าง ผู้เยาว์อยู่หน้าบ้านเเละมารดาอยู่ในบ้านในขณะนั้นผู็เยาว์ได้โยนก้อนหินใส่ ก ทำให้ ก หัวแตก ในกรณีนี้จะเห็นได้ว่าความดูแลตกอยู่กับมารดา เป็นต้น
การที่บุคคลที่ดูผู้ไร้ความสามารถอยู่ในทางข้อเท็จจริงต้องร่วมรับผิดในการทำละเมิดของผู้ไร้ความสามารถตามมาตรา430
ผู้ไร้ความสามารถตากมาตรานี้หมายความรวมกับมาตรา429
บุคคลตามมาตรา 430 ที่ต้องเป็นผู้ร่วรับผิดกับผู้ไร้ความสามารถ
:star: คนรับผิดกับผู้ไร้ความสามารถมีหลายบุคคล ซึ่งขึ้นอยู่กับข้อเท็จจริง ได้แก่
ครูบาอาจารย์ที่มีหน้าที่ดูแลนักเรียนที่โรงเรียน
นายจ้างที่มีลูกจ้างเป็นผู้เยาว์หรือตน
บิดามารดาที่มิได้มีอำนาจตามกฎหมาย ในกรณีที่บุตรอาจมีอำนาจอยู่กับฝ่ายฝดฝ่ายหนึ่ง
ปู่ย่าตายาย ญาติพี่น้อง พี่เลี้ยง ครูสอนพิเศษ ที่มีหน้าที่ดูแลคนไร้ความสามารถ
หลักเกฑณ์ที่ทำให้ผู้ดูแลต้องรับผิด
:no_entry:
ผู้เสียหายพิสูจน์ได้ว่าผู้ดูแลมิได้ใช้ความระมัดระวังตามสมควรแก่เห็น
เช่น นางดำ เป็นยายของผู้เบาว์เเละมีหน้าที่ดูแลผู้เยาว์ในช่วงที่แม่ของผู็เยาว์ไม่อยู่ได้ฝากผู้เยาว์ไว้กับนางดำ ในขณะนั้นผู้เยาว์ได้เอาขันโยนใส่นางขาวเพื่อนบ้านจนหัวแตก ผู้เป็นแม่ของผู้เยาว์ต้องพิสูจน์ได้ว่าในขนาดที่ผู้เยาว์กระทำละเมิดอยู่ในช่วงนางดำดูแลอยู่นั้นเอง
ผู้เยาว์กระทำการละเมิดในขณะที่อยู่ในความดูแลของผู้ดูแล
เช่น นางดำ เป็นยายของผู้เบาว์เเละมีหน้าที่ดูแลผู้เยาว์ในช่วงที่แม่ของผู็เยาว์ไม่อยู่ได้ฝากผู้เยาว์ไว้กับนางดำ ในขณะนั้นผู้เยาว์ได้เอาขันโยนใส่นางขาวเพื่อนบ้านจนหัวแตก ถือได้ว่าผู้เยาว์กระทำการละเมิดต่อนางขาวในขณะที่นางดำเป็นผู้ดูแล
ผลของความรับผิด
:red_cross:
ผู้ดูแลต้องร่วมรับผิดในความผิดละเมิดของคนไร้ความสามารถด้วย
-โดยรับผิดแบบลูกหนี้ร่วม
-รับผิดในทุกอณู
-ผู้เสียหายฟ้องให้รับผิดโดยตรงทันทีเเละเต็มจำนวน
ไล่เบี้ยโดยใช้มาตรา 426 มาอนุโลมของมาตรา431
เนื่องจากผู้ดูแลมิได้กระทำการละเมิด
บุคคลไร้ความสามารถต้องรับผิดในการกระทำการละเมิดของตนเองตามมาตรา420
โดยใช้หลักใครทำบุคคลนั้นต้องรับผิด