Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่1 แนวคิดทฤษฎี นวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศึกษา,…
บทที่1 แนวคิดทฤษฎี นวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศึกษา
นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่นำมาใช้
ข้อคำนึงของสถานศึกษาในการใช้งาน
ประเภทของสื่อการเรียนรู้
สื่อสิ่งพิมพ์
สื่อเทคโนโลยี
สื่อที่เป็นกิจกรรม
สื่อบุคคล รวมถึงภูมิปัญญาท้องถิ่น
สื่อธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
1.การวิเคราะห์ผู้เรียน
2.การกำหนดวัตถุประสงค์
3.การเลือกวิธีการ สื่อ และวัสดุ
6.สิ่งที่ต้องการให้ผู้เรียนตอบสน
5.การใช้วิธีการ สื่อ และวัสดุ
7.การประเมินและการปรับ
4.การเลือก ปรับ ออกแบบวิธีการ สื่อ และวัสดุ
ความหมายนวัตกรรม
สิ่งประดิษฐ์ใหม่
ดัดแปลงจากของเดิม
วิธีการปฏิบัติใหม่
แนวความคิดใหม่
ประโยชน์ของนวัตกรรม
ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงกว่าเดิม และยังช่วยประหยัดเวลาและแรงงาน
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
เพื่อศึกษาแนวคิด ทฤษฎีของนวัตกรรมและสารสนเทศทางการศึกษา
นักศึกษาสามารถบอกความหมาย ของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาได้
หลักการและทฤษฎีเกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา
ต้องอาศัยวิธีการสำคัญอย่างน้อย 2 วิธี
-วิธีการเชิงมนุษย์ิทยา
-วิธีการสอนเชิงระบบ
สื่อดิจิทัลและนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 2 สื่อดิจิทัล
ประเภทของสื่อ
CD Presentation
การสร้างเป็นสื่อดิจิตอล ในลักษณะที่เป็น CD ที่ใช้สำหรับในการนำเสนอในสถานที่ต่างๆ เช่น นำเสนอข้อมูลในที่ประชุม นำเสนอข้อมูลบริษัท ที่เรียกว่า Cinoany Profile
VCD/DVD
การสร้างสื่อดิจิตอลในลักษณะที่เป็น CD ภาพยนตร์ ที่มี การตัดต่อภาพยนตร์ต่างๆ ในลักษณะที่เป็น Movie Clip แล้วนำมาจัดเรียงต่อกันเป็นภาพยนตร์ 1 เรื่อง เป็นต้น
CD Training
การสร้างสื่อดิจิตอลในลักษณะที่เป็น CD ที่ใช้ในการสอนการใช้งาน จะเป็นการสอนการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เช่น สอนการใช้โปรแกรม Microsoft Word เป็นต้น
E-book และ Education
การสร้างสื่อดิจิตอลในลักษณะที่เป็น การทำเป็นหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งสามารถสร้างโดยการแปลงไฟล์เอกสารต่างๆ ให้เป็นWepage หรือ PDF File เป็นต้น
องค์ประกอบของสื่อ
ภาพนิ่ง
เป็นภาพที่ไม่มีการเคลื่อนไหว เช่น ภาพถ่าย ภาพวาด และ ภาพลายเส้น เป็นต้น
ภาพวิดีโอ
เป็นองค์ประกอบของมัลติมิเดียที่มีความสำคัญเป็นอย่างมาก เนื่องจากวิดีโอในระบบดิจิตอล สามารถ นำเสนอข้อความหรือรูปภาพ (ภาพนิ่งหรือภาพเคลื่อนไหว) ประกอบกับเสียงได้สมบูรณ์มากกว่าองค์ประกอบชนิดอื่น
ภาพเคลื่อนไหว
เป็นภาพกราฟิกที่มีการเคลื่อนไหวเพื่อแสดงขั้นตอนหรือ ปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง เช่น การเคลื่อนที่ของลูกสูบของเครื่องยนต์ เป็นต้น
เสียง
จะถูกจัดเก็บอยู่ในรูปของสัญญาณดิจิตอลซึ่งสามารถเล่นช้ากลับไปมาได้ โดยใช้โปรแกรมที่ออกแบบมาโดยเฉพาะสำหรับทำงานด้านเสียง หากในงานมัลติมีเดียมีการใช้เสียงที่เร้าใจและสอดคล้องกับเนื้อหาใน การนำเสนอ จะช่วยให้ระบบมัลติมีเดียนั้นเกิดความสมบูรณ์แบบมากยิ่งขึ้น
ข้อความ
ใช้แสดงรายละเอียด หรือเนื้อหาของเรื่องที่นำเสนอ ถือว่าเป็นองค์ประกอบพื้นฐานที่สำคัญของมัลติมีเดีย
ข้อความที่ได้จากการพิมพ์
ข้อความจากสแกน
ข้อความไดเปอร์เท็กซ์
ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม
ความเข้าใจสื่อดิจิทัลเกิดจากการผสมผสานความรู้สาขาวิชารวมถึงทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม และการใช้ชีวิต
การคิดเชิงวิพากษ์และการแก้ไขปัญหา
การใช้วิธีคิดเชงระบบ
ประสิทธิภาพในการตัดสินใจ
ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม
การนำนวัตกรมมปฏิบัติ
การทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์
การสื่อสารและการมีส่วนร่วม
การทำงานร่วมกับผู้อื่น
การสื่อสารได้ชัดเจนมีประสิทธิภาพ
ความเข้าใจสารสนเทศ
ความเข้าใจ
ความตระหนักถึงความสำคัญ
ความเข้าใจ
การใช้และการจัดการสารสนเทศอย่างสร้างสรรค์และตรงประเด็น
ความสารมารถในการเข้าถึงสารสนเทศและการประเมินสารสนเทศ
เครื่องมือที่ใช้ในการนำเสนอข้อมูลยุคดิจิทัล
โพรเจกเตอร์
สมาร์ทโฟน
กล้องถ่ายรูปดิจิทัล
เครื่องเล่น MP3
คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ
คอมพิวเตอร์โน๊ตบุค
เครื่องฉาย 3 มินิ
กล้องถ่ายรูปวีดีทัศน์ดิจิทัล
แท็บเล็ต
อัลตราบุ๊ก
ความหมายของสื่อ
อะไรก็ตามที่เป็นตัวกลางถ่ายทอดข้อมูลเลข ฐาน2 คือ ตัวเลข1 และ 0 สำหรับประมวลผล จัดเก็บหรือแสดงผลของข้อมูล เพื่อใช้ประโยชน์ในการส่งต่อข้อมูล
สื่อที่มีคุณสมบัติสำคัญอยู่ที่การปฏิสัมพันธ์ interactive ซึ่งเป็นตัวช่วยให้ผู้ใช้สามารถมี
เนื้อหาของการสื่อสารที่สามารถเข้าถึงได้โดยผ่าทางเครื่องดิจิทัล