Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สื่อดิจิทัล 600-320 - Coggle Diagram
สื่อดิจิทัล
600-320
บทที่1 แนวคิดทฤษฎี นวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศ : ทางการศึกษา
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
สามรถบอกความหมายของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาได้
เพื่อศึกษาแนวคิด ทฤษฎีของนวัตกรรม
ความหมายของนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา
นวัตกรรม (Innovation)
นวัตกรรมทางการศึกษา( Educational Innovation)
เทคโนโลยี(Tecnology)
เทคโนโลยีทางการศึกษา (Educational Technology)
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา
บทบาทของนวัตกรรมและเทคโนโลยี
สารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีการศึกษาทำให้การเรียนการสอน มีความหมายมากขึ้น ทำให้ผู้เรียน สามารถเรียนได้กว้างขวาง เรียนได้เร็วขึ้น
เทคโนโลยีการศึกษาสามารถตอบสนองความแตกต่างของผู้เรียน
เทคโนโลยีการศึกษาทำให้การจัดการศึกษา ตั้งบนรากฐานของวิธีการทาง
วิทยาศาสตร์ ทำให้การจัดการศึกษาเป็นระบบและเป็นขั้นตอน
ความสำคัญของเทคโลยี ที่มีต่อการศึกษา
การนำเอาเทคโนโลยีการศึกษามาใช้นั้น ส่วนใหญ่นำมาใช้ในการแก้ปัญหา ในด้านการศึกษาก็เช่นเดียวกัน เพราะปัญหาทาง ด้านการศึกษามากมาย
ปัญหาด้านเนื้อหา
ปัญหาผู้สอน
ปัญหาผู้เรียน
ปัญหาเรื่องระยะทาง
ปัญหาด้านเวลา
หลักการและทฤษฎี เกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการศึกษาในแง่ของการเรียนรู้
หลักการจูงใจ
การพัฒนามโนทัศน์ (Concept)
กระบวนการเลือกและการสอนด้วยสื่อเทคโนโลยี
การมีส่วนรวมและการปฏิบัติ
การฝึกซ้ำและการเปลี่ยนแปลงสิ่งเร้าบ่อยๆ
ปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิผลทำให้เกิดนวัตกรรม
แนวความคิดพื้นฐานในเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคล
(Individual Different)
แนวความคิดพื้นฐานในเรื่องความพร้อม (Readiness)
แนวความคิดพื้นฐานในเรื่องการใช้เวลาเพื่อการศึกษา
แนวความคิดพื้นฐานในเรื่องการขยายตัวทางวิชาการและอัตราการเพิ่มประชากร
INNOTECH หรือ นวัตกรรมและเทคโนโลยี
ทางการศึกษา
การเรียนการสอนระบบไม่มีชั้น (Non –Graded System)
ระบบการเรียนโดยนักเรียนสอนกันเอง นักเรียนเก่งสอนนักเรียน
อ่อน (Peer Tutoring)
การจัดคาบเวลาการเรียนการสอนแบบยืดหยุ่น (Modular
Scheduling)
การแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มตามวิชาที่เลือก ตามความถนัด ความ
สามารถหรือความสนใจของเด็ก (Flexible Grouping)
การกำหนดวิธีการสอนให้เหมาะสมกับแต่ละรายบุคคล
(Individually Prescribed Instructing )
โครงการส่งเสริมสมรรถภาพควรเรียนด้วยตนเอง
การเตรียมสำหรับโครงการนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา
โครงการอิมแพ็คท์ คือ จัดกิจกรรมการเรียนการสอน
โดยผู้ปกครองชุมชนและครูร่วมกันจัดกิจกรรมให้การศึกษา
ประโยชน์ของนวัตกรรมเทคโนโลยี ทางการศึกการศึกษา
ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจบทเรียนเป็นรูปธรรม
ช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้เร็วขึ้น
ช่วยให้บรรยากาศการเรียนรู้สนุกสนาน
ช่วยให้บทเรียนน่าสนใจ
ช่วยลดเวลาในการสอน
ช่วยประหยัดค่าใช่จ่าย
บทที่2 ความเข้าใจ
สื่อดิจิทัล
Digital Media Understanding
ความหมาย
สื่อดิจิทัลคืออะไร
ประะเภทของดิจิทัล
การรู้เท่าทันสื่อดิจิทัล
ความเข้าใจสารสนเทศ
ทักษะการเรียนรู้นวัตกรรม
ทักษะเทคโนโลยีดิจิทัล
ความหมาย
การรู้สื่อMedia Literacy
การเข้าถึง การวิเคราะห์ และการผลิตสื่อผ่านความเข้าใจและการตระหนัก
การรู้สารสนเทศ
การประเมินว่าสารสนเทศใดที่มนุษย์ต้องการ
เข้าใจUnderstanding
เข้าใจบริบท และประเมินสื่อดิจิทัลเพื่อใช้ในการตัดสินใจเกี่ยวกับสิ่งที่พบ
องค์ประกอบของสื่อ
เสียง (Audio)
ภาพนิ่ง (Still Image)
ข้อความ (Text)
ภาพเคลื่อนไหว (Animation)
ภาพวิดีโอ (Video)
ประเภทของสื่อ
VCD/DVD
CD Presentation
E-book และ E-document
CD Training
ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม
ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม
การคิดเชิงวิพากษ์และการแก้ไขปัญหา
การสื่อสารและการมีส่วนร่วม
เครื่องมือที่ใช้ในการนำเสนอข้อมูลยุคดิจิทัล
กล้องถ่ายวีดีทัศน์ดิจิทัล
คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ
กล้องถ่ายรูปดิจิทัล (Digital Camera)
คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก
เครื่องฉาย 3 มิติ (Visualizer)
อัลตราบุ๊ก (Ultrabook)
โพรเจกเตอร์ (Projector)
แท็บเล็ต (Tablet)
สมาร์ทโฟน (Smartphone)
เครื่องเล่น MP3