Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
600-320 สื่อดิจิทัลและนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้ - Coggle Diagram
600-320 สื่อดิจิทัลและนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 1 แนวคิดทฤษฏี นวัตกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
ความหมาย
นวัตกรรมทางการศึกษา
การนำแนวคิด วิธีการปฏิบัติ หรือสิ่งประดิษฐ์ที่ได้รับการพัฒนา ปรับปรุงหรือดัดแปลงให้มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับการนำมาใช้ในการจัดการศึกษา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ไขปัญหา เพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผล และก่อให้เกิดความสำเร็จสูงสุดแก่ผู้เรียน
นวัตกรรม
การใช้ประโยชน์จากสิ่งที่มีอยู่แล้วมาใช้ในรูปแบบใหม่เพื่อให้เกิดประโยชน์หรือแตกต่างจากคนอื่น
เทคโนโลยี
การใช้ความรู้เครื่องมือ ความคิด หลักการ เทคนิค ความรู้ ระเบียบวิธี กระบวนการตลอดจน ผลงานทางวิทยาศาสตร์ทั้งสิ่งประดิษฐ์และวิธีการ มาประยุกต์ใช้ในระบบงานเพื่อช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการทำงานให้ดียิ่งขึ้น
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับงานด้านการศึกษา เช่น การเก็บข้อมูล และการประมวลข้อมูล ผลฐานข้อมูล เป็นต้น
เทคโนโลยีทางการศึกษา
ศาสตร์ที่ว่าด้วยการศึกษา ครอบคลุมระบบการนำวิธีการมาปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพ มี 3 องคืประกอบ คือ วัสดุ อุปกรณ์ วิธีการ
วัตถุประสงค์ของการเรียนรู้
เพื่อศึกษาแนวทางทฤษฏีของนวัตกรรมสารสนเทศทางการศึกษา
สามารถบอกความหมายของนวัตกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาได้
ความสำคัญของเทคโนโลยีต่อการศึกษา
การนำเอาเทคโนโลยีการศึกษามาใช้นั้น ส่วนใหญ่นำมาใช้ในการแก้ปัญหา ในด้านการศึกษาก็เช่นเดียวกัน เพราะปัญหาทางด้านการศึกษามากมาย เช่น ปัญหาผู้สอน ปัญหาผู้เรียน
หลักการและทฤษฏีที่เกี่ยวกับนวัตกรรมเทคโนโลยีทางการศึกษา
วิธีการมนุษยเชิงวิทยา
วิธีการสอนเชิงระบบ
ประโยชน์ของนวัตกรรมเทคโนโลยีทางการศึกษา
ให้ผู้เรียนเข้าใจบทเรียนเป็นรูปธรรม
ให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้เร็วขึ้น
บทที่ 2 สื่อดิจิทัล
ความหมายของสื่อ
เนื้อหาของการสื่อสารที่สามารถเข้าถึงได้โดยผ่านทางเครื่องดิจิทัล
สื่อที่มีคุณสมบัติสำคัยอยู่ที่การมีปฏิสัมพันธ์
สื่อที่มีคุณสมบัติสำคัญอยู่ที่การปฏิสัมพันธ์ interactive ซึ่งเป็นตัวช่วยให้ผู้ใช้สามารถมีส่วนร่วมซึ่งกันและทำให้ต่างฝ่ายต่างสามารถผลิตเนื้อหาของตนเองได้
อะไรก็ตามที่เป็นตัวกลางถ่ายทอดข้อมูลเลข ฐาน 2 คือ ตัวเลข 1 และ 0 สำหรับประมวลผล จัดเก็บหรือแสดงผลของข้อมูล เพื่อใช้ประดยชน์ในการส่งต่อข้อมูล
องค์ประกอบของสื่อ
ข้อความ
ใช้แสดงรายละเอียด หรือเนื้อหาของเรื่องที่นำเสนอ ถือว่าเป็นองค์ประกอบพื้นฐานที่สาคัญของมัลติมีเดีย
ข้อความที่ได้จากการพิมพ์
ข้อความจากสแกน
ข้อความไฮเปอร์เท็กซ์
เสียง
จะถูกจัดเก็บอยู่ในรูปของสัญญาณดิจิตอลซึ่งสามารถเล่นซ้ากลับไปกลับมาได้ โดยใช้โปรแกรมที่ออกแบบ มาโดยเฉพาะสาหรับทางานด้านเสียง หากในงานมัลติมีเดียมีการใช้เสียงที่เร้าใจและสอดคล้องกับเนื้อหาใน การนำเสนอ จะช่วยให้ระบบมัลติมีเดียนั้นเกิดความสมบูรณ์แบบมากยิ่งขึ้น
ภาพเคลื่อนไหว
เป็นภาพกราฟิกที่มีการเคลื่อนไหวเพื่อแสดงขั้นตอนหรือปรากฏ การณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง เช่น การเคลื่อนที่ของลูกสูบของเครื่องยนต์ เป็นต้น
ภาพนิ่ง
เป็นภาพที่ไม่มีการเคลื่อนไหว เช่น ภาพถ่าย ภาพวาด และภาพลายเส้น เป็นต้น
ภาพวีดีโอ
เป็นองค์ประกอบของมัลติมีเดียที่มีความสำคัญเป็นอย่างมาก เนื่องจากวิดีโอในระบบดิจิตอล สามารถ นาเสนอข้อความหรือรูปภาพ (ภาพนิ่งหรือภาพเคลื่อนไหว) ประกอบกับเสียงได้สมบูรณ์มากกว่าองค์ประกอบชนิดอื่นๆ
ประเภทของสื่อ
CD Presentation
การสร้างเป็นสื่อดิจิตอลในลักษณะที่เป็น CD ที่ใช้สำหรับในการนำเสนอในสถานที่ต่าง ๆ เช่น นำเสนอข้อมูลในที่ประชุม นำเสนอข้อมูลบริษัท ที่เรียกว่า Company Profile
VCD/DVD
การสร้างสื่อดิจิตอลในลักษณะที่เป็น CD ภาพยนตร์ ที่มีการตัดต่อภาพยนตร์ต่าง ๆ ในลักษณะที่เป็น Movie Clip แล้วนำมาจัดเรียงต่อกันเป็นภาพยนตร์ 1 เรื่อง เป็นต้น
CD Training
การสร้าง สื่อดิจิตอลในลักษณะที่เป็น CD ที่ใช้ในการสอนการใช้งาน จะเป็นการสอนการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เช่น สอนการใช้โปรแกรม Microsoft Word เป็นต้น
E-book และ E-document
การสร้างสื่อดิจิตอลในลักษณะที่เป็น การทำเป็นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งสามารถสร้างโดยการแปลงไฟล์เอกสารต่าง ๆ ให้เป็น Webpage หรือเป็น PDF File เป็นต้น
เครื่องมือที่ใช้ในการนำเสนอข้อมูลยุคดิจิทัล
คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ
เครื่องฉาย 3 มิติ
คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ค
โพรเจกเตอร์
อัลตราบุ๊ค
กล้องถ่ายรูปวีดีทัศน์ดิจิทัล
กล้องถ่ายรูปดิจิทัล
แท็บเล็ต
สมาร์ทโฟน
เครื่องเล่น MP3
ความเข้าใจสารสนเทศ
ความเข้าใจ
ความตระหนักถึงความสำคัญของสารสนเทศ
ความตระหนักถึงความสำคัยของสารสนเทศ
ความสามารถในการเข้าถึงสารสนเทศและการประเมินสารสนเทศ
การใช้และการจัดการสารสนเทศอย่างสร้างสรรค์และตรงประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้นมีการจัดการสารสนเทศอย่างต่อเนื่องจากแหล่งข้อมูลที่มีอยู่และมีการประยุกต์ใช้สารสนเทศมาจัดการตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้
ความเข้าใจ
ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม
ความเข้าใจสื่อดิจิทัลเกิดจากการผสมผสานความรู้ทักสาขาวิชารวมถึงทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม และการใช้ชีวิต มีจุดเน้นบนพื้นฐานแห่งการสร้างสรรค์ การคิดแบบวิจารณญาณ การสื่อสาร และการมีส่วนร่วมในการทำงาน
ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม
การทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์
การนำนวัตกรรมมาปฏิบัติ
การสื่อสารและการมีส่วนร่วม
การทำงานร่วมกับผู้อื่น
การสื่อสารได้ชัดเจนมีประสิทธิภาพ
การคิดเชิงวิพากษ์และการแก้ไขปัญหา
การใช้วีธีคิดเชิงระบบ
ประสิทธิภาพในการตัดสินใจ