Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
600-320 สื่อดิจิทัลและนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้ - Coggle Diagram
600-320 สื่อดิจิทัลและนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 1 แนวคิดทฤษฎี นวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศึกษา
ความหมายของนวัตกรรม และเทคโนโลยี
ทางการศึกษา
นวัตกรรม คือ การนำแนวความคิดใหม่หรือการใช้ประโยชน์จากสิ่งที่
มีอยู่แล้วมาใช้ในรูปแบบ ใหม่ เพื่อทำให้เกิดประโยชน์
นวัตกรรมการศึกษา หมายถึง การนำเอาสิ่งใหม่ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของความคิด หรือการกระทำ รวมทั้งสิ่งประดิษฐ์ก็ตามเข้ามาใช้ในระบบการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา หมายถึง การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับงานด้านการศึกษา อันได้แก่ การจัดเก็บข้อมูล และประมวลผลฐานข้อมูล การพัฒนาระบบสารสนเทศช่วยการเรียนการสอน
Trend Technology
Visual Camera
Internet of Things (IoT)
Cloud Computing
ความสำคัญของเทคโนโลยีที่มีต่อการศึกษา
หมายถึง การนำเอาเทคโนโลยีการศึกษามาใช้นั้น ส่วนใหญ่นำมาใช้ในการแก้ปัญหา ในด้านการศึกษาก็เช่นเดียวกัน เพราะปัญหาทางด้านการศึกษามากมาย
ปัญหาด้านเวลา
ปัญหาด้านเนื้อหา
ปัญหาผู้เรียน
ปัญหาผู้สอน
บทบาทของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ทางการศึกษา
1.เทคโนโลยีการศึกษาทำให้การเรียนการสอน มีความหมายมากขึ้น ทำให้ผู้เรียน
สามารถเรียนได้กว้างขวาง เรียนได้เร็วขึ้น
2.เทคโนโลยีการศึกษาสามารถตอบสนองความแตกต่างของผู้เรียน ผู้เรียนสามารถ
เรียนได้ตามความสามารถของผู้เรียน
3.เทคโนโลยีการศึกษาทำให้การจัดการศึกษา ตั้งบนรากฐานของวิธีการทาง
วิทยาศาสตร์ ทำให้การจัดการศึกษาเป็นระบบและเป็นขั้นตอน
4.เทคโนโลยีการศึกษาช่วยให้การศึกษามีพลังมากขึ้น การนำเทคโนโลยีด้านสื่อเป็น
เครื่องมืออย่างหนึ่งที่จะทำให้การศึกษามีพลัง
5.เทคโนโลยีการศึกษาทำให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างกว้างขวาง และได้พบกับ
สภาพความจริงในชีวิตมากที่สุด
6.เทคโนโลยีการศึกษาทำให้เปิดโอกาสทางการศึกษาทั้งๆ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย
หลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา
1.วิธีการเชิงมนุษยวิทยา (Humunistic Approach) ได้แก่ การที่ครูให้ความสนใจต่อการพัฒนา ในด้านความเจริญเติบโตของผู้เรียนแต่ละคน
2.วิธีการสอนเชิงระบบ (Systematic Approach) ได้แก่ การจัดการเรียนการสอน โดยอาศัยวิธีระบบ ทั้งนี้เพราะการเรียนการสอนเป็นการถ่ายทอดศิลปะ วัฒนธรรม ความรับผิดชอบต่อสังคมในลักษณะของการเข้าใจเนื้อหาวิชา
หลักการและทฤษฎี เกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการศึกษาในแง่ของการเรียนรู้
หลักการจูงใจ
การพัฒนามโนทัศน์
กระบวนการเลือกและการสอนด้วยสื่อเทคโนโลยี
การมีส่วนรวมและการปฏิบัติ
การฝึกซ้ำและการเปลี่ยนแปลงสิ่งเร้า
บ่อยๆ
ความชัดเจน ความสอดคล้อง และความเป็นผล
อัตราการเสนอสื่อในการเรียนการ
สอน
การให้รู้ผลการเรียนรู้จะดี
ขึ้น
ปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลอันมีผลทำให้เกิดนวัตกรรม
แนวความคิดพื้นฐานในเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคล
แนวความคิดพื้นฐานในเรื่องความพร้อม
แนวความคิดพื้นฐานในเรื่องการใช้เวลาเพื่อการศึกษา
แนวความคิดพื้นฐานในเรื่องการขยายตัวทางวิชาการและอัตราการเพิ่มประชากร
INNOTECH หรือนวัตกรรมและเทคโนโลยี
ทางการศึกษา
การเรียนการสอนระบบไม่มีชั้น
ระบบการเรียนโดยนักเรียนสอนกันเอง
นักเรียนเก่ง สอนนักเรียนอ่อน
การจัดคาบเวลาการเรียนการสอนแบบยืดหยุ่น
การแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มตามวิชาที่เลือก ตามความถนัด ความสามารถหรือความสนใจของเด็ก
โทรทัศน์เพื่อเพิ่มพูนประสบการณ์ด้วยการศึกษา
ประโยชน์ของนวัตกรรมเทคโนโลยีทางการ
ศึกษา
ช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้เร็วขึ้น
ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจบทเรียนเป็นรูปธรรม
ช่วยให้บรรยากาศการเรียนรู้สนุกสนาน
ช่วยให้บทเรียนน่าสนใจ
ช่วยลดเวลาในการสอน
ช่วยประหยัดค่าใช่จ่าย
บทที่2 สื่อดิจิทัล
Digital media
สื่อดิจิทัล คือ เนื้อหาของการสื่อสารที่สามารถเข้าถึงได้โดยผ่านทางเครื่องมือดิจิทัล
สื่อดิจิทัล คือ สื่อที่มีคุณสมบัติสำคัญอยู่ที่การมีปฏิสัมพันธ์ (interactive) ซึ่งเป็นตัวช่วยให้ผู้ใช้สามารถมีส่วนร่วมซึ่งกันและทำให้ต่างฝ่ายต่างสามารถผลิตเนื้อหาของตนเองได้
สื่อดิจิทัล หมายถึง อะไรก็ตามที่เป็นตัวกลางถ่ายทอดข้อมูลเลข ฐาน 2 คือ ตัวเลข 1 และ 0 สำหรับประมวลผล จัดเก็บหรือแสดงผลของข้อมูล เพื่อใช้ประโยชน์ในการส่งต่อข้อมูล
ประเภทของสื่อดิจิทัล
CD Presentation
CD Training
VCD/DVD
E-book และ E-document
การเข้าใจสารสนเทศ
1) ความสามารถในการเข้าถึงสารสนเทศและการประเมินสารสนเทศ โดยสามารถระบุแหล่งสืบค้นข้อมูล
2) การใช้และการจัดการสารสนเทศอย่างสร้างสรรค์และตรงกับประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้น
เครื่องมือที่ใช้ในการนำเสนอข้อมูลยุคดิจิทัล
โพรเจกเตอร์ (Projector)
เครื่องฉาย 3 มิติ (Visualizer)
กล้องถ่ายรูปดิจิทัล (Digital Camera)
กล้องถ่ายวีดีทัศน์ดิจิทัล
คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ
คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก
อัลตราบุ๊ก (Ultrabook)
แท็บเล็ต (Tablet)
สมาร์โฟน(Smartphone)
เครื่องเล่น MP3
ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม
ความเข้าใจสื่อดิจิทัลเกิดจากการผสมผสานความรู้ทุกสาขาวิชารวมถึงทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม (Learning and innovation skills) และการใช้ชีวิต มีจุดเน้นอยู่บนพื้นฐานแห่งการสร้างสรรค์
2-การคิดเชิงวิพากษ์และการแก้ไขปัญหา
3-การสื่อสารและการมีส่วนร่วม
1-ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม
ความเข้าใจสื่อดิจิทัล
สื่อมีบทบาทต่อการเรียนรู้ทั้งด้านการดำรงชีวิต ทัศนคติ ค่านิยม การประเมินคุณค่าสื่อ การปฏิบัติตนในสังคม ที่นำไปสู่การแก้ปัญหาและแนวทางการศึกษาในศตวรรษที่ 21
เข้าใจ Understanding
เข้าใจบริบท และประเมินสื่อดิจิทัล เพื่อใช้ในการตัดสินใจเกี่ยวกับสิ่งที่พบ
การรู้สารสนเทศ
การประเมินว่าสารสนเทศใดที่มนุษย์ต้องการ
การรู้สื่อ Media Literacy การเข้าถึง การวิเคราะห์ และการผลิตสื่อผ่านความเข้าใจและการตระหนัก
องค์ประกอบของสื่อ
สื่อดิจิทัล ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่
ภาพเคลื่อนไหว
เสียง
ข้อความ
ภาพนิ่ง
ภาพวิดีโอ