Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่1 แนวคิดทฤษฎี นวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศึกษา, บทที่2…
บทที่1 แนวคิดทฤษฎี นวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศึกษา
ความหมายของนวัตกรรม และเทคโนโลยี
ทางการศึกษา
นวัตกรรม (Innovation) คือ การนำแนวความคิดใหม่หรือการใช้ประโยชน์จากสิ่งที่ การทำในสิ่งที่แตกต่างจากคนอื่น โดยอาศัยการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ
นวัตกรรมการศึกษา (Educational Innovation) หมายถึง การนำเอาสิ่งใหม่ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของความคิด
หรือการกระทำ รวมทั้งสิ่งประดิษฐ์ก็ตามเข้ามาใช้ในระบบการศึกษา เพื่อมุ่งหวังที่จะเปลี่ยนแปลงสิ่งที่มีอยู่เดิมให้ระบบการจัดการศึกษามี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
เทคโนโลยี (Technology) หมายถึง การใช้เครื่องมือให้เหมาะสมกับสถานการณ์ในการแก้ปัญหา ผู้ที่นำเอาเทคโนโลยีมาใช้ เรียกว่านักเทคโนโลยี (Technologist)
เทคโนโลยีทางการศึกษา (Educational Technology) ตามรูปศัพท์ เทคโน (วิธีการ) + โลยี(วิทยา) หมายถึง
ศาสตร์ที่ว่าด้วยวิธีการทางการศึกษา ครอบคลุมระบบการนำวิธีการ มาปรับปรุงประสิทธิภาพของการศึกษา
ให้สูงขึ้น
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา หมาย
ถึง การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับงานด้านการศึกษา อันได้แก่ การจัดเก็บข้อมูล และประมวลผลฐานข้อมูล
ความสำคัญของเทคโนโลยีที่มีต่อการศึกษา หมายถึง การนำเอาเทคโนโลยีการศึกษามาใช้นั้น ส่วนใหญ่นำมา ใช้ในการแก้ปัญหา ในด้านการศึกษาก็เช่นเดียวกัน เพราะปัญหาทางด้านการศึกษามากมาย เช่น
ปัญหาผู้สอน ปัญหาผู้เรียน
ปัญหาด้านเนื้อหา ปัญหาด้านเวลา
ปัญหาเรื่องระยะทาง
บทบาทของนวัตกรรมและ
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
1.เทคโนโลยีการศึกษาทำให้การเรียนการสอน มีความหมายมากขึ้น ทำให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้กว้างขวาง เรียนได้เร็วขึ้น ทำให้ผู้สอนมีเวลาให้ผู้เรียนมากขึ้น
2.เทคโนโลยีการศึกษาสามารถตอบสนองความแตกต่างของผู้เรียน ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตามความสามารถของผู้เรียน การเรียนการสอนจะเป็นการตอบสนองความ
สนใจและความต้องการของแต่ละบุคคลได้ดี
3.เทคโนโลยีการศึกษาทำให้การจัดการศึกษา ตั้งบนรากฐานของวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ทำให้การจัดการศึกษาเป็นระบบและเป็นขั้นตอน
หลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยี
ทางการศึกษา
ต้องอาศัยวิธีการที่สำคัญอย่างน้อยอีก 2 วิธี ได้แก่
1.วิธีการเชิงมนุษยวิทยา (Humunistic Approach) ได้แก่ การที่ครูให้ความสนใจต่อการพัฒนา ในด้านความเจริญเติบโตของผู้เรียนแต่ละคน นักการศึกษาเชื่อว่าไม่มีวิธีการเรียนการสอนอย่างหนึ่งอย่างใดเป็นวิธีที่ดีที่สุด
2.วิธีการสอนเชิงระบบ (Systematic Approach) ได้แก่ การจัดการเรียนการสอน โดยอาศัยวิธีระบบ ทั้งนี้เพราะการเรียนการสอนเป็นการถ่ายทอดศิลปะ วัฒนธรรม
หลักการและทฤษฎี เกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการศึกษา
ในแง่ของการเรียนรู้
คาร์เพนเตอร์ และเดล (C.R. Carpenter and Edgar Dale) ได้ประมวลหลักการและทฤษฏีเทคโนโลยีทางการศึกษาในลักษณะของการเรียนรู้ที่มี ประสิทธิภาพ 10
ประการ คือ
1.หลักการจูงใจ สื่อเทคโนโลยีทางการศึกษาจะมีพลังจูงใจที่สำคัญในกิจกรรมการเรียนก
2.การพัฒนามโนทัศน์ (Concept) ส่วนบุคคล สื่อช่วยส่งเสริมความ คิด ความเข้าใจแก่ผู้เรียนแต่ละคน
3.กระบวนการเลือกและการสอนด้วยสื่อเทคโนโลยี ความสัมพันธ์ระหว่างการปฏิบัติเกี่ยวกับสื่อจะเป็นแบบลูกโซ่ในกระบวนการเรียนการสอน
4.การมีส่วนรวมและการปฏิบัติ ผู้เรียนต้องการมีส่วนร่วม และการปฏิบัติด้วยตนเองมากที่สุด
5.การฝึกซ้ำและการเปลี่ยนแปลงสิ่งเร้าบ่อยๆ สื่อที่สามารถส่งเสริมการฝึกซ้ำและมีการ เปลี่ยนแปลงสิ่งเร้าอยู่
เสมอ จะช่วยส่งเสริมความเข้าใจ
เพิ่มความคงทนในการจำ
6.อัตราการเสนอสื่อในการเรียนการ
สอน อัตราหรือช่วงเวลาการเสนอข้อความรู้ต่างๆ จะ ต้องมีความสอดคล้องกับ ความสามารถของผู้เรียนรู้และประสบการณ์ของผู้เรียน
7.ความชัดเจน ความสอดคล้อง และความเป็นผล สื่อที่มีลักษณะ
8.การถ่ายโยงที่ดี โดยที่การเรียนรู้แบบเก่าไม่อาจถ่ายทอดไปสู่การเรียนรู้ใหม่ได้อย่างอัตโนมัติ จึงควรจะต้องสอนแบบถ่ายโยง ผู้เรียนต้องการคำแนะนำในการ
ปฏิบัติ เพื่อประยุกต์ความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
9.การให้รู้ผลการเรียนรู้จะดีขึ้น ถ้าหากสื่อเทคโนโลยีช่วยให้ผู้เรียนรู้ผลการกระทำทันที หลังจากที่ได้ปฏิ
บัติกิจกรรมไปแล้ว
ปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลอันมีผลทำให้เกิดนวัตกรรม
แนวความคิดพื้นฐานในเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคล
แนวความคิดพื้นฐานในเรื่องความพร้อม (Readiness)
แนวความคิดพื้นฐานในเรื่องการใช้เวลาเพื่อการศึกษา
แนวความคิดพื้นฐานในเรื่องการขยายตัวทางวิชาการและอัตราการเพิ่มประชากร
การนำนวัตกรรม และเทคโนโลยีมาใช้ในการ
ศึกษาและใช้ในการเรียนการสอน
ต้องคำนึงถึงความสำคัญ 3 ประการ คือ
INNOTECH หรือ นวัตกรรมและเทคโนโลยี
ทางการศึกษา
1.การเรียนการสอนระบบไม่มีชั้น (Non –Graded System)
2.ระบบการเรียนโดยนักเรียนสอนกันเอง นักเรียนเก่งสอนนักเรียนอ่อน (Peer Tutoring)
3.การจัดคาบเวลาการเรียนการสอนแบบยืดหยุ่น (ModularScheduling)
4.การแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มตามวิชาที่เลือก ตามความถนัด ความสามารถหรือความสนใจของเด็ก (Flexible Grouping)
5.การกำหนดวิธีการสอนให้เหมาะสมกับแต่ละรายบุคคล
(Individually Prescribed Instructing )
สรุปความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับนวัต
กรรม
นวัตกรรม เป็นคำที่ใช้ควบคู่กับ เทคโนโลยี เสมอๆนวัตกรรมและเทคโนโลยีนั้นมีความ
สัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิดเนื่องจากนวัตกรรมเป็นเรื่องของการคิดค้นหรือการกระทำใหม่ ๆเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้นส่วนเทคโนโลยีนั้นมุ่งไปที่การนำสิ่งต่าง ๆเพื่อแก้ปัญหาให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด
ประโยชน์ของนวัตกรรมเทคโนโลยีทางการ
ศึกษา
ช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้เร็วขึ้น
ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจบทเรียนเป็นรูปธรรม
ช่วยให้บรรยากาศการเรียนรู้สนุกสนาน
บทที่2 ความเข้าใจสื่อดิจิทัล
ความหมาย
เข้าใจบริบท และ
ประเมินสื่อดิจิทัลเพื่อใช้ในการ
ตัดสินใจเกี่ยวกับสิ่งที่พบ
สื่อดิจิทัลคืออะไร
“สื่อดิจิทัล คือ
เนื้อหาของการสื่อสาร
ที่สามารถเข้าถึงได้โดยผ่านทาง
เครื่องมือดิจิทัล”
ประเภทของสื่อดิจิทัล
มี 4 ประเภท คือ
CD Training
CD Presentation
VCD/DVD
E-book และ E-document
การรู้เท่าทันสื่อดิจิทัล
คือ ความสามารถในการใช้งาน คอมพิวเตอร์และการสืบค้นสารสนเทศโดยเริ่มต้นจาก พื้นฐานการใช้อินเทอร์เน็ตในการเรียนรู้ ค้นหา และ เลือกเครื่องมือดิจิทัลเช่น เบราว์เซอร์(Browser) ไฮเปอร์ ลิงค์ (Hyperlink) เสิร์ชเอนจิน (Search engine) เป็นต้น
ความเข้าใจสารสนเทศ
ความเข้าใจสารสนเทศ ประกอบด้วย
-ความเข้าใจ
-ความตระหนักถึงความสำคัญของสารสนเทศ
โดยต้องมีความสามารถ ดังนี้
1) ความสามารถในการเข้าถึงสารสนเทศและการ
ประเมินสารสนเทศโดยสามารถระบุแหล่งสืบค้นข้อมูลโดยใช้วิธีการที่เหมาะสม
2) การใช้และการจัดการสารสนเทศอย่าง
สร้างสรรค์และตรงกับประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้น
ทักษะการ
เรียนรู้และนวัตกรรม
ความเข้าใจสื่อดิจิทัลเกิดจากการผสมผสาน
ความรู้ทุกสาขาวิชารวมถึงทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม (Learning and innovation skills) และการใช้ชีวิตมีจุดเน้นอยู่บนพื้นฐานแห่งการ
สร้างสรรค์การคิดแบบมีวิจารณญาณ การสื่อสาร และการมีส่วนร่วมในการทำงาน ดังรายละเอียดต่อไปนี้
ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม
-การคิดสร้างสรรค์
-การทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์
การคิดเชิงวิพากษ์และการ
แก้ไขปัญหา
-การใช้วิธีคิดเชิงระบบ
-ประสิทธิภาพในการตัดสินใจ
การสื่อสารและการมีส่วนร่วม
-การสื่อสารได้ชัดเจนมี
ประสิทธิภาพ
-การทำงานร่วมกับผู้อื่น
ทักษะด้านเทคโนโลยีดิจิทัล
ทักษะในการนำเครื่องมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีอยู่ในปัจจุบัน อาทิ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์แทปเลต โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และสื่อออนไลน์ มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในการสื่อสาร การปฏิบัติงาน และการทำงานร่วมกัน หรือใช้เพื่อพัฒนากระบวนการทำงาน
องค์ประกอบของสื่อ
สื่อดิจิทัล ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ
ได้แก่
ข้อความ (Text)
เสียง (Audio)
ภาพนิ่ง (Still Image)
ภาพเคลื่อนไหว (Animation)
ภาพวิดีโอ (Video)
เครื่องมือที่ใช้ในการนำเสนอข้อมูลยุคดิจิทัล
โพรเจกเตอร์ (Projector)
เครื่องฉาย 3 มิติ (Visualizer)
กล้องถ่ายรูปดิจิทัล (Digital Camera)
กล้องถ่ายวีดีทัศน์ดิจิทัล
คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ
นางสาวชารีฟ๊ะ เหมมันต์ 6406510109
สาขาภาษาไทย ห้อง4