Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สื่อดิจิทัลและนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้ - Coggle Diagram
สื่อดิจิทัลและนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้
บทที่1 แนวคิดทฤษฎี นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
ความหมาย
นวัตกรรม : คือการนำแนวความคิดใหม่หรือการใช้ประโยชน์จากสิ่งที่มีอยู่แล้วมาใช้ในรูปแบบใหม่
นวัตกรรมการศึกษา: คือการนำเอาสิ่งใหม่ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของความคิดหรือการกระทำ รวมทั้งสิ่งประดิษฐ์ เพื่อมุ่งเน้นที่จะเปลี่ยนแปลงสิ่งที่มีอยู่เดิมให้ระบบการศึกษามีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
เทคโนโลยี: คือการใช้เครื่องมือให้เหมาะสมกับสถานการณ์ในการแก้ปัญหา
เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา: คือการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับงานด้านการศึกษา ได้แก่ การเก็บข้อมูล และประมวลผลฐานข้อมูล
การนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช้ในการศึกษาและใช้ในการเรียนการสอน
ประหยัด
ประสิทธิผล
ประสิทธิภาพ
บทบาทของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
1.เทคโนโลยีการศึกษาทำให้การเรียนการสอน มีความหมายมากยิ่งขี้น
2.เทคโนโลยีการศึกษาสามารถตอบสนองความแตกต่างของผู้เรียน
3.เทคโนโลยีการศึกษาทำให้การจัดการศึกษาเป็นระลบบและขั้นตอน
4.เทคโนโลยีการศึกษาช่วยให้การศึกษามีพลังมากขึ้น
5.เทคโนโลยีการศึกษาทำให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างกว้างขวาง
องค์ประกอบของเทคโนโลยีทางการศึกษา
1.บุคลากร
2.การเรียนรู้
3.การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
4.การจัดการ
ประโยชน์ของนวัตกรรมเทคโนโลยีทางการศึกษา
4.ช่วยให้บทเรียนน่าสนใจ
6.ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย
5.ช่วยลดเวลาในการสอน
2.ข่วยให้ผู้เรียนเข้าใจบทเรียนเป็นรูปธรรม
1.ช่วยให้ผู้เรียนรู้ได้เร็วขึ้น
3.ช่วยให้บรรยากาศการเรียนรู้สนุกสนาน
ปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลอันมีผลทำให้เกิดนวัตกรรม
1.แนวความคิดพื้นฐานในเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคล
2.แนวความคิดพื้นฐานในเรื่องความพร้อม
3.แนวความคิดพื้นฐานในเรื่องการใช้เวลาเพื่อการศึกษา
บทที่2 ความเข้าใจสื่อดิจิทัล
ประเภทของ
สื่อ
CD Training
CD Presentation
VCD/DVD
E-book และ E-document
องค์ประกอบ
ของสื่อ
1.ข้อความ (Text)
2.เสียง (Audio)
3.ภาพนิ่ง (Still Image)
4.ภาพเคลื่อนไหว (Animation)
5.ภาพวิดีโอ (Video)
5 องค์ประกอบเท่าทันสื่อ
การเปิดรับสื่อ : คือการรู้เท่าทันการเปิดรับสื่อของประสาทาัมผัส
การวิเคราะห์สื่อ : คือ การแยกแยะองค์ประกอบในการนำเสนอของสื่อว่ามีวัตถุประสงค์อะไร
การเข้าใจสื่อ : คือ การตีความสื่อหลังจากเปิดรับสื่อไปแล้ว
การประเมินค่า : หลังการวิเคราะห์ทำความเข้าใจสื่อแล้ว เราควรประเมินค่าสิ่งที่สื่อนำเสนอว่ามีคุณภาพและคุณค่ามากน้อยเพียงใด
การใช้สื่อให้เกิดประโยชน์ : แม้เราจะสามารถวิเคราะห์และประเมินค่าสื่อได้ แต่เราไม่สามารถออกไปจากโลกของสื่อได้
เครื่องมือที่ใช้ในการนำเสนอข้อมูลยุคดิจิทัล
โพรเจกเตอร์ (Projector)
เครื่องฉาย 3 มิติ (Visualizer)
กล้องถ่ายรูปดิจิทัล (Digital Camera)
กล้องถ่ายวีดีทัศน์ดิจิทัล
คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ
คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก
อัลตราบุ๊ก (Ultrabook)
แท็บเล็ต (Tablet)
สมาร์ทโฟน (Smartphone)
เครื่องเล่น MP3
ทักษะการเรียนรู้นวัตกรรม
ความเข้าใจสื่อดิจิทัลเกิดจากการผสมผสานความรู้ทุกสาขาวิชารวมถึงทักษะการเรียนรู้และวัตกรรมและการใช้ชีวิต มีจุดเน้นอยู่บนพื้นฐานแห่งการสร้างสรรค์ การคิดแบบมีวิจารณญาน การสื่อสาร และการมีส่วนร่วมในการทำงาน ดังนี้
3.การสื่อสารและการมีส่วนร่วม
1.ความคิดสร้างสรรค์
2.การคิดเชิงวิพากย์และแก้ปัญหา