Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
600-320 สื่อดิจิทัล - Coggle Diagram
600-320 สื่อดิจิทัล
บทที่ 1 แนวคิดทฤษฎีนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
ความหมายของนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา
นวัตกรรม (Innovation) คือ การนำแนวความคิดใหม่หรือ
การใช้ประโยชน์จากสิ่งที่มีอยู่แล้วมาใช้ในรูปแบบใหม่
นวัตกรรมการศึกษา (Educational Innovation)
คือ การนำเอาสิ่งใหม่ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของความคิดหรือการกระทำ รวมทั้งสิ่งประดิษฐ์ก็ตามเข้ามาใช้ในระบบการศึกษา
เทคโนโลยี (Technology) คือ การใช้เครื่องมือให้เหมาะสมกับสถานการณ์ในการแก้ปัญหา
เทคโนโลยีทางการศึกษา (Educational Technology)
คือ ศาสตร์ที่ว่าด้วยวิธีการทางการศึกษาครอบคลุมระบบการนำวิธีการ
มาปรับปรุงประสิทธิภาพของการศึกษาให้สูงขึ้น
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา
คือ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับงานด้านกานศึกษา
ได้แก่ การจัดเก็บข้อมูล และการประมวลผลฐานข้อมูล
ความสำคัญของเทคโนโลยีที่มีต่อการศึกษา
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทางการเรียน การสอน
และเพิ่มประสิทธิผลทางการศึกษา
บทบาทของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีการศึกษาทำให้การเรียนการสอน ทำให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้กว้างขวาง เรียนได้เร็วขึ้น ทำให้ผู้สอนมีเวลาให้ผู้เรียนมากขึ้น
เทคโนโลยีการศึกษาสามารถตอบสนองความแตกต่างของผู้เรียน
เทคโนโลยีการศึกษาทำให้การจัดการศึกษา ตั้งบนรากฐานของวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ทำให้การจัดการศึกษาเป็นระบบและเป็นขั้นตอน
เทคโนโลยีการศึกษาทำให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างกว้างขวาง และได้พบกับสภาพความจริงในชีวิตมากที่สุด
เทคโนโลยีการศึกษาช่วยให้การศึกษามีพลังมากขึ้น การนำเทคโนโลยีด้านสื่อเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งที่จะทำให้การศึกษามีพลัง
เทคโนโลยีการศึกษาทำให้เปิดโอกาสทางการศึกษาทั้งๆ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย
หลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา
ธีการเชิงมนุษยวิทยา (Humunistic Approach) ได้แก่ การที่ครูให้ความสนใจต่อการพัฒนา ในด้านความเจริญเติบโตของผู้เรียนแต่ละคน
วิธีการสอนเชิงระบบ (Systematic Approach) ได้แก่ การจัดการเรียนการสอน โดยอาศัยวิธีระบบ ทั้งนี้เพราะการเรียนการสอนเป็นการถ่ายทอดศิลปะ วัฒนธรรม ความรับผิดชอบต่อสังคมในลักษณะของการเข้าใจเนื้อหาวิชา
หลักการและทฤษฎี เกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการศึกษา
ในแง่ของการเรียนรู้
คาร์เพนเตอร์ และเดล (C.R. Carpenter and Edgar Dale)
ได้ประมวลหลักการและทฤษฏีเทคโนโลยีทางการศึกษาในลักษณะของการเรียนรู้ที่มี ประสิทธิภาพ 10 ประการ คือ
หลักการจูงใจ
การพัฒนามโนทัศน์
กระบวนการเลือกและการสอนด้วยสื่อเทคโนโลยี
การจัดระเบียบประสบการณ์เทคโนโลยีทางการศึกษา
การมีส่วนรวมและการปฏิบัติ
การฝึกซ้ำและการเปลี่ยนแปลงสิ่งเร้าบ่อยๆ
อัตราการเสนอสื่อในการเรียนการสอน
ความชัดเจน ความสอดคล้อง และความเป็นผล
การถ่ายโยงที่ดี
การให้รู้ผลการเรียนรู้จะดีขึ้น
ปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลอันมีผลทำให้เกิดนวัตกรรม
แนวความคิดพื้นฐานในเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคล
(Individual Different)
แนวความคิดพื้นฐานในเรื่องความพร้อม (Readiness)
แนวความคิดพื้นฐานในเรื่องการใช้เวลาเพื่อการศึกษา
แนวความคิดพื้นฐานในเรื่องการขยายตัวทางวิชาการและอัตราการเพิ่มประชากร
ประโยชน์ของนวัตกรรมเทคโนโลยีทางการศึกษา
ช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้เร็วขึ้น
ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจบทเรียนเป็นรูปธรรม
ช่วยให้บรรยากาศการเรียนรู้สนุกสนาน
ช่วยให้บทเรียนน่าสนใจ
ช่วยลดเวลาในการสอน
ช่วยประหยัดค่าใช่จ่าย
บทที่ 2 ความเข้าใจสื่อดิจิทัล
ความหมายของสื่อดิจิทัล
สื่อดิจิทัล หมายถึง อะไรก็ตามที่เป็นตัวกลางถ่ายทอดข้อมูลเลข ฐาน 2 คือ ตัวเลข 1 และ 0 สำหรับประมวลผล จัดเก็บหรือแสดงผลของข้อมูล เพื่อใช้ประโยชน์ในการส่งต่อข้อมูล สารสนเทศ จากแหล่งกำเนิดสารหรือผู้ส่งสารไปยังผู้รับสาร
“สื่อดิจิทัล คือ สื่อที่มีคุณสมบัติสำคัญอยู่ที่การมีปฏิสัมพันธ์ (interactive) ซึ่งเป็นตัวช่วยให้ผู้ใช้สามารถมีส่วนร่วมซึ่งกันและทำให้ต่างฝ่ายต่างสามารถผลิตเนื้อหาของตนเองได้”
“สื่อดิจิทัล คือ เนื้อหาของการสื่อสาร
ที่สามารถเข้าถึงได้โดยผ่านทางเครื่องมือดิจิทัล”
องค์ประกอบของสื่อ
ข้อความ (Text)
เสียง (Audio)
ภาพนิ่ง (Still Image)
ภาพเคลื่อนไหว (Animation)
ภาพวิดีโอ (Video)
ประเภทของสื่อ
𝑪𝑫 𝑻𝒓𝒂𝒊𝒏𝒊𝒏𝒈
𝑪𝑫 𝑷𝒓𝒆𝒔𝒆𝒏𝒕𝒂𝒕𝒊𝒐𝒏
𝑽𝑪𝑫/𝑫𝑽𝑫
𝑬-𝒃𝒐𝒐𝒌 และ 𝑬-𝒅𝒐𝒄𝒖𝒎𝒆𝒏𝒕
5 องค์ประกอบเท่าทันสื่อ
การเข้าใจสื่อ
ประเมินค่าสื่อ
การวิเคราะห์สื่อ
การใช้สื่อให้เกิดประโยชน์
การรับสื่่อ