Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Pregnancy Induced Hypertension(PIH)
ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์เป็นพิ…
Pregnancy Induced Hypertension(PIH)
ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์เป็นพิษ
นางสาวมาลัย เรือนทิ
64019535
-
อาการและอาการแสดง
1.ความดันโลหิตสูง
2.น้ำหนักตัวเพิ่ม
3.บวม
4.ตาพร่ามัวหรือตาบอด
5.ปวดศรีษะ
6.เจ็บลิ้นปรี่หรือใต้ชายโครงขวา
7.อาการชัก,
-
พยาธิสภาพ
การหดเกร็งของหลอดเลือดvasospasm endothelial ถูกทำลายจนกระทั้งเกล็ดเลือดและ fibrinogen [ถูกทำลายจนลดรอยลง]
-
-
3.ระบบโลหิตวิทยา
HELLP syndrome ภาวะแทรกซ้อนรุนแรงของ PIH:ปวดชายโครงขวา เหนื่อย เพลีย อาเจียน บวม ตัวเหลือง ปัสสาวะเป็นเลือด
H-EL-LPH:Hemolysis :เม็ดเลือดแดงแตก
EL:Elevated liver enzymes : เอนไซม์ตับเพิ่มขึ้นน ตับผิดปกติ T LP: Low platelet :เกล็ดเลือดต่ำ< 100,000 mm3
-
5.ระบบปัสสาวะ
โปรตีนรั่ว ในปัสสาวะ, ปัสสาวะเป็นเลือด ปัสสาวะออกน้อย ไตวาย
6.ระบบการทำงานของตับ Capsule rupture มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ปวดบริเวณชายโครงขวา หรือใต้ลิ้นปรี่ต้องผ่าตัดด่วน ป้องกัน การเสียชีวิตมารดาและทารก
7.กล้ามเนื้อมดลูกและรก
spiral arteries แคบและเหยียดออกทำให้ เลือดไปเลี้ยงน้อยลง ทำให้ทารกได้รับเลือกจากแม่น้อยลง IUGR ทารกในครรภ์มีขนาดเล็ก
-
ผลกระทบต่อมารดาและทารก
ผลต่อมารดา
1.หลอดเลือดแดงฝอยหดเกร็งทั่วร่างกายเส้นเลือดในสมองแตก, หัวใจล้มเหลว, ไตวาย,ความแข็งตัว ของเลือด, ตับแตก,มารดาเสียชีวิต
- ชัก ส่งผลให้เสียชีวิต HELLP syndrome
ผลต่อทารก
Placental insuffciency, Spontaneous abortion , ทารกเสีย ชีวิตในครรภ์, รกลอกตัวก่อนกำหนด, คลอดก่อนกำหนด,ขาดออกซิเจนเรื้อรัง
Hypermagnesemia, APGAR SCORE ต่ำ
การรักษา
*1. mild pre -eclamsia*
1.การดูแลตัวเองท่ีบ้าน นอนรพ.แต่เมื่ออาการดีข้ึนไม่พบโปรตีนรั่ว ความดันลดลงกลับบ้านได้ /สังเกตุอาการชัก บวม ปวดศีรษะ ตาพร่ามัว เจ็บแน่นลิ้นปรี่ สังเกตุและนับลูกดื้น นอนตะแคงซ้าย ชั่งนํ้าหนักทุกวันลดอาหารเค็มสังเกตุการหดรัดมดลูกและเจ็บครรภ์คลอดก่อนกําหนด
- การรักษาตัวในโรงพยาบาล เฝ้าระวังการเกิด SPE /Bed rest นอน
ตะแคงซ้าย ให้ยา glucocorticoid เพื่อส่งเสริมความสมบูรณ์ของปอด (GA < 35 wks.) dexamethasone 6 mg IM ทุก 12hr. 4dose ให้ครบ 48 hr. ดูแลประคับประคองจนครรภ์ 37wks. จึงพิจารณาคลอด ถ้า อาการแย่ลงให้ดูแลชนิด severe*
*2. Server pre –eclampsia*
การรักษาทีดีที่สุดคืออาการทำให้สิ้นสุดการตั้งครรภ์เพื่อป้องกันภาวะ แทรกซ้อนรุนแรงต่อมารดา และทารก
- การให้ยากันชัก ท่ีนิยมคือ Magnesium sulfate(MgSO4)ก่อนให้ ประเมิน RR> 14ครั้ง /นาที , DTR =+2, Urine out put >30 ml/hr. หยุดให้ยาเมื่อมีอาการใดอาการหนึ่ง DTR=0, RR <14ครั้ง/นาที, Urine out put < 30 ml/hr หรือ100ml/4hr.
Antidose คือ 10% calcium gluconat 10 ml IVpush
- Diazepam ป้องกันและหยุดชัก ยามีผลเสียต่อทารกคือกดการหายใจ จึงให้กรณีหลังคลอดและ เมื่อชักเท่าน้ัน
3.การควบคุมความดัน ในราย diastolic >110 mmHg. พิจารณาให้ยา ลดความดัน เช่น Hydralazine หรือ Diazoxide แต่ไม่ควร ให้diastolic<90 เพราะเลือดจะเลี้ยงรกไม่พอ 4.การทำให้ส้ินสุดการคลอด 1.คลอดทางช่องคลอด 2.ผ่าคลอด
5.การให้สารน้ําlactate ringer' s solution 60 ml/hr ไม่ควรให้ เกิน 120 ml/hr.
- ให้สาร surfactant**
3. Eclampsia -เช่นเดียวกับ severe PIH
-
กรณีศึกษา
หญิงตั้งครรภ์อายุ39ปี G1P0 GA 36 wks. มาLR ด้วย เจ็บครรภ์คลอด ปวดหัวและมีน้ําเดิน แรกรับ v/s T= 37.5 P =90/m R=22/m BP =170/110 mmHg. บวม +1 Urine strip test Al=+3, S= neg PV พบCx. Dilate 2 cms. Eff. 50% Station -1 ML Vx. ประเมิน I = 5 นาทีD = 40 วินาที FHS = 130 คร้ัง/นาทีเด็กดิ้นดีและ on EFM
ข้อวินิฉัยการพยาบาล
ข้อที่ 1 เสี่ยงเกิดภาระชักในระยะช่วงก่อนคลอดเนื่องจากความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ข้อมูลสนับสนุน
-ความดันโลหิต 170/110 mmHg
-มีอาการปวดศีรษะกิจกรรมพยาบาล
- ประเมินอาการนําสู่ภาวะชัก เช่น ปวดศีรษะ ตาพร่ามั่ว เจ็บใต้ชายโครงขวา
- ประเมินและตรวจ Deep tendon reflex ทุก 4 hrs. เพื่อประเมิน ความรุนแรง ของโรค
- ประเมินอาการหดรัดตัวของมดลูก อาการเจ็บครรภ์คลอดทุก 2- 4ชั่วโมง
- ตรวจวัดสัญญาณชีพทุกๆ 1 ชั่โมง เพื่อติดตามความรุนแรงของโรค
- ให้นอนพักในท่าตะแคงซ้าย Absolute bed rest โดยให้นอนพักผ่อนบนเตียงให้มากท่ีสุด
- Record I/O และฟังเสียงปอดทุก 2hr.
- ดูแลให้ได้รับยาตาม แผนการรักษา
- ให้ออกซิเจน 8-10 L /min ตามแผนการรักษา
- เตรียมอุปกรณ์ชช่วยเหลือทันทีท่ีมีอาการชัก
นวัตกรรม
ช่ือผลงานนวัตกรรม: รวดเร็ว ถูกต้อง ปลอดภัย ด้วย “PIH BOX”
PIH BOX หมายถึงกล่องใส่อุปกรณ์และยากันชักสำหรับมารดาที่มีภาวะ Severe Pre-eclampsia
สรุปผลงานโดยย่อ : ผลงานน้ีทำขึ้นเพื่อช่วยลดระยะเวลาในการเตรียมอุปกรณ์ทำหัตถการและการให้ยากันชักในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ ท่ีมีภาวะ Severe Pre-eclampsia โดยการจัดทำเป็นกล่อง PIH BOX มีฝาปิด ใบ checklist ,ใบ monitor เฝ้าระวังอาการข้างเคียง จากการให้ยา, มีวิธีการบริหารยาที่ถูกต้องตามมาตรฐาน ผลการดำเนินงานพบว่าสามารถลดระยะเวลาและขั้นตอนในการเตรียมยาได้ ไม่พบอุบัติการณ์บริหารยา ผิดพลาด และเจ้าหน้าท่ีมีความมั่นใจและพึงพอใจต่อการนำนวัตกรรมมาใช้
ช่ือและที่อยู่องค์กร : นางสาว จุฑาภรณ์ หลักเพชร พยาบาลวิชาชีพ ปฏิบัติการ งานห้องคลอด โรงพยาบาลกันตัง
อ้างอิง : จุฑาภรณ์ หลักเพชร(2561). ผลงานนวัตกรรม. งานห้องคลอดโรงพยาบาบลกันตัง. http://kantang- hospital.go.th/wp content/uploads/2018/03/Inno_3 .pdf
-