Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ (สรุป ฉบับ 1-5), image, image, image, image, image,…
พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ (สรุป ฉบับ 1-5)
What
ลิขสิทธิ์ เป็นทรัพย์สินทางปัญญาอย่างหนึ่ง ที่กฎหมายให้ความคุ้มครอง โดยให้เจ้าของลิขสิทธิ์ถือสิทธิแต่เพียงผู้เดียว
งานสร้างสรรค์ที่จะได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ต้องเป็นงานในสาขา วรรณกรรม นาฎกรรม ศิลปกรรม ดนตรีกรรม โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียง งานแพร่เสียงแพร่ภาพ รวมถึงงานอื่น ๆ ในแผนกวรรณคดี วิทยาศาสตร์ หรือแผนกศิลปะ งานเหล่านี้ถือเป็นผลงาน ที่เกิดจากการใช้สติปัญญา ความรู้ความสามารถ และความวิริยะอุตสาหะ ในการสร้างสรรค์งานให้เกิดขึ้น ซึ่งถือเป็นทรัพย์สินทางปัญญาประเภทหนึ่งที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจ
Who
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1.สำนักเครื่องหมายการค้า มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
2.สำนักสิทธิบัตร มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
3.สำนักลิขสิทธิ์ มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
6.กองส่งเสริมและพัฒนาทรัพย์สินทางปัญญา มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
4.กองกฎหมายและอุทรธรณ์
5.ศูนย์ประสานการป้องปรามการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา
เจ้าของลิขสิทธ์
1) ผู้สร้างสรรค์ด้วยความคิดริเริ่มของตนเองโดยไม่ลอกเลียนงานของบุคคลอื่นและอาจหมาย
2) ผู้สร้างสรรค์ในฐานะพนักงาน หรือลูกจ้าง (เว้นแต่ทาหนังสือตกลงกันไว้เป็นอย่างอื่น)
3) ผู้ว่าจ้างในกรณีว่าจ้างให้บุคคลอื่นสร้างสรรค์งาน(เว้นแต่จะตกลงกันไว้เป็นอย่างอื่น)
4) ผู้ดัดแปลงรวบรวมหรือประกอบเข้ากันโดยได้รับอนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์
5) กระทรวงทบวงกรมหรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐหรือของท้องถิ่นโดยการจ้างหรือตามคาสั่ง หรือในความควบคุมดูแลของตน 5
6) ผู้รับโอนลิขสิทธtext
Where
ผู้ใช้บริการใช้งานผ่านผู้ให้บริการ
ใช้ในศาล
ใช้ควบคุมและป้องกันผลงานของผู้สร้างสรรค์ในทุกช่องทาง
ใช้ในห้องสมุด
ใช้ในที่สาธารณะ
How
ขอบเขตการคุ้มครองของกฎหมายลิขสิทธิ์
การทำซ้ำหรือดัดแปลง
การนำไปเผยแพร่ต่อสาธารณชน
การให้เช่าต้นฉบับหรือสำเนางานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ และสิ่งบันทึกเสียง
การมอบประโยชน์จากลิขสิทธิ์ให้แก่ผู้อื่น
งานประเภทไหนบ้าง
งานอื่นๆ ในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรือแผนกศิลปะ
งานแพร่เสียงหรือแพร่ภาพ
งานภาพยนตร์
งานโสตทัศนวัสดุ
งานสิ่งบันทึกเสียง
งานดนตรีกรรม
งานศิลปกรรม
งานนาฏกรรม
งานวรรณกรรม
When
สิทธิในลิขสิทธิ์จะเกิดขึ้นโดยทันทีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ได้สร้างสรรค์ผลงานโดยไม่ต้องจดทะเบียน ดังนั้น เจ้าของลิขสิทธิ์จึงควรที่จะปกป้องคุ้มครองสิทธิของตนโดยการเก็บรวบรวมหลักฐานต่างๆ ที่แสดงว่าได้ทาการ สร้างสรรค์ผลงานนั้นขึ้น เพื่อประโยชน์ในการพิสูจน์สิทธิหรือความเป็นเจ้าของในโอกาสต่อไป
อย่างไรก็ดีการแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ต่อกรมทรัพย์สินทางปัญญา มิใช่เป็นการรับรองสิทธิของเจ้าของลิขสิทธิ์ แต่อย่างใด แต่เป็นเพียงการแจ้งต่อหน่วยงานราชการว่าตนเองเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ในงานที่แจ้งไว้เท่านั้น โดยผู้แจ้ง ต้องรับรองตนเองว่าเป็นเจ้าของผลงานที่นามาแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ และหนังสือรับรองที่กรมทรัพย์สินทางปัญญา ออกให้ ก็มิได้รับรองว่าผู้แจ้งเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์แต่อย่างใด หากมีข้อโต้แย้งหรือมีข้อพิพาทเกี่ยวกับเจ้าของลิขสิทธิ์ จาเป็นต้องอาศัยการวินิจฉัยชี้ขาดของศาล
การได้มาซึ่งลิขสิทธิ์
คนที่ใช้ของถูกลิขสิทธิ์
คนที่ใช้ของผิดลิขสิทธิ์