Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปการเรียนของหมอกําพล ครั้งที่ 1, นางสาวมณฑิตา สุขเอี่ยม ชั้นปีที่ 4…
สรุปการเรียนของหมอกําพล ครั้งที่ 1
Acute Abdominal pain
Abdominal injury
ปวดท้องเรื้อรัง ไม่เกิน 3 Wks./ปวดรุนแรง
ทันทีทันใด เป็นไม่น้อยกวา่ 2hr.
กลุ่มอาการที่ต้องแยกโรคออกทางศัลยกรรม
1.ปวดท้องต่อเนื่องมากกว่า 4 ชม
2.ปวดจนต้องมาตรวจซ้ำ
3.ปวดจนต้องมาเวลากลางคืน
4.ปวดในกลุ่มผู้ปวยเฉพาะ
5.ปวดร่วมกับภาวะไข้
6.ปวดร่วมกับสัญญาณชีพไม่คงที่
7.ปวดร่วมกับภาวะท้องแข็ง
8.ปวดร่วมกับเคยมีประวัติการบาดเจ็บช่องท้องและทรวงอกก่อนหน้า
9.ปวดร่วมกับเคยผ่าตัดช่องท้องมาก่อน
10.ปวดจนไม่สามารถใช้ชีวิตประจําวันปกติได้
Surgical abdomen
special signs
Murphy’s sign,Psoas sign,Obturator sign,Rovsing
sign,Cough test
การรักษาเบื้องต้นที่ช่วยให้การรักษาได้ผลดีขึ้นและสําคัญ
fluid resuscitation
Urgency to Emergency
Bleeding
ปวดท้องร่วมกับ sign hypovolemic shock
Perforated Viscus
Peritonitis
sing
Rigidity,Severe tenderness to palpation,Rebound tenderness,Absent bowel
การซักประวีติ
Time/onset ระยะเวลาในการเป็น
Character/Pattern
Position
Factor
Associated symptom
U/D ประวัติการใช้ยา
ประวัติที่ต้องถาม!!
ประวัติรอบเดือน/ประวัติการขับถ่าย/การใช้alcohol/การแพ้ยา/
โรคที่มีอาการปวดท้องร่วม เช่น MI DKA SLE DHF/
ประวัติการผ่าตัดรักษา/ ประวัติabdominal trauma ก่อนหน้า
การตรวจร่างกาย
ทั่วไป
เหลือง ซีด ขาดอาหาร ต่อมน้ำเหลืองโตไหม
มีลักษณะเป็นโรคตับแข็งไหม ตัวบวมไหม บวมกดบุ๋มไหม
ระบบช่องท้อง
Vital sign
abdominal sign
ดู>>แผลผ่าตัดหน้าท้อง เส้นเลือดขอด ไส้เลื่อน การบวมของท้อง รอยช้ำ
เคาะ>>เพื่อประเมิน การแข็งของหน้าท้อง ลักษณะก้อน ตําแหน่งปวด
ฟัง>> bowel sound
การตรวจเพิ่มเติมภายใน
PV
1 more item...
PR
2 more items...
schaemic Bowel
Definition
1.Clicky pain
ปวดบิดๆ เป็นพักๆ
2.Peritonism
ปวดเฉพาะจุด หน้าท้องแข็งเกร็ง กดสะดุ้งจาก rebound tender
Pathophysiology
Visceral pain
Somatic pain
Peritonism
Referred pain
Ureteric stone,pyelonephritis,Acute cholecystits
ประเมิน
มีemergency sign ไหม
TRUAMA VS NON TRUMA ?
เป็น surgical abdomen ไหม ต้องนอนโรงพยาบาลไหม+รายงานแพทย์
acute abdomen part 2
Urgency to Emergency
Bleeding
AAA
Keyword
ปวดท้องฉับพลัน
อายุเยอะ
BP drop
Fast positive
ไม่มีประวัติ trauma น้ำ
เปลือกตาซีด Hct Drop
สิ่งที่ต้องรู้
Rest ผู้ป่วย,ให้ oxygen,ให้กำลังใจ + ข้อมูลญาติ
ใส่ NG Foley ดู I/O
เตรียมเลือด
ให้ยา pain control
Stable
เตรียม Confirm Dx CTA Chest + whole abdomen
ช่วย resuscitation
Stable Vs unstable ?
ถ้า unstable รีบ Resuscitation
รายงานศัลยแพทย์หรือ CVT และส่งต่อไปทําการรกัษาผ่าตัด หรอืเข้าห้องผ่าตัด
GI Bleed
UGIB
จากกลุ่ม Peptic ulcer
ปวดท้องที่ epigastrium หรือ RUQ ร่วมกับถ่ายมี melena หรืออาเจียนเป็น coffee ground
LGIB
จากกลุ่ม Diverticulosis/Diverticulitis VS Angiodysplasia
แนวทางการดูแลเบื้องต้น
resuscitation ในผู้ป่วย unstable
ประสานศัลยแพทยเ์พื่อทําการประเมิน และพิจารณาส่องกล้อง หรือผ่าตัดรักษา
เจาะ CBC Coagulopathy
G/M PRC FFP Platelet
ใส่ NG ,Foley Record I/O
1 more item...
Rupture HCC
พบในกลุ่มผู้ป่วยสูงอายุ 50 ปีขึ้นไป
ชาย>หญิง
จุดเด่นที่ช่วยสังเกต
มีประวัติเป็นตับอักเสบเรื้อรังทั้ง Hepatitis B C และ อาจจะมีตาเหลืองและกลุ่ม cirrhosis sign ร่วมด้วย
มาด้วยอาการปวดท้องเฉียบพลันและ vital sign unstable FAST + โดยไม่มีประวัติ trauma นํามาก่อน
Rupture ectopic
และ Rupture corpus luteal cyst
**UPT negative สามารถพบใน Ectopic pregnancy
แนวทางปฏิบัติ
ตรวจ CBC UPT และ resusscitation consult สูตินารีแพทย์
u/s หรือ CT ยืนยันการวินิจฉัย
Keyword
ปวดท้องมากโดยเฉพาะท้องน้อยในหญิงวัยเจริญพันธ์ุ
รอบเดือนผิดปกติ
เปลือกตาซีด และ shock
FAST positive แบบผู้ป่วย trauma
ตรวจร่างกาย
ปวดท้องแบบ pelvic peritonitis
จนกระทั่งแบบ generalise peritonitis จากเลือดกระจายเต็มท้อง
พบ Cervix motion tenderness ร่วม
ไม่ตกขาว หรือตกขาวน้อย ไม่มีไข้
เปลือกตา ซีดจากการเสียเลือด
อาจมีอาการ hypovolemic shock
ประวัติรอบเดือนผิดปกติ/บางรายมีอาการปวดท้องเรื้อรังช่วงมีรอบเดือน/ประวัติเคยท้องนอกมดลูกมาก่อน/ใช้ยาคุมฉุกเฉินบ่อยครั้ง/ทําหมันแล้วก็เกิดได
Perforated Viscus
Cause
Inflammatory bowel disease
Colonic obstruction
PU perforation
สาเหตุ>>Nsaid drug,alcohol,Steroid abuse
พบคนสูงอายุชาย = หญิง วัยทํางาน ชาย> หญิง
ปวดมากที่ epigastrium หรือ RUQ
ขึ้นอยู่กับบตําแหน่ง stomach หรือ duodenum
ต่อมาก็จะมีอาการปวดทั่วๆท้อง/ปวดที่ท้องน้อยด้านขวา
คนไข้มักจะอยู่นิ่ง เพราะยิ่งขยับยิ่งปวด
Board like rigidity
CT whole abdomen
แยกกับกลุ่มโรค pancreatitis
การรักษา
Retain NG ,Foley cath,Load Fluid Resuscitation,CXR EKG
Diverticulitis with Rupture
มีประวัติท้องผูกเรื้อรังนำ พบในผู้สูงอายุบ่อย 40 ปีขึ้นไป
Confirm Dx CT scan Whole abdomen
ปวดท้องเฉพาะจุดมากหรอืปวดทั่วๆ ขึ้นอยู่กับตําแหน่งโรค anatomy ของลําไส้
GI symptom
ร่วมกับ clinical เรื้อรังไข้กลุ่ม SIRS หรือ Sepsis
การรักษา
ไม่ rupture ต้องมา Work up คัดกรอง CA colon ภายหลัง 4-6 wk ขึ้นไป
ผ่าตัดเมื่ออักเสบซ้ำาตั้งแต่ 2 คร้ง/ครั้งเดียว แต่เป็นเป็นกลุ่มผู้ป่วยเสี่ยงสูง/สงสัยมะเร็งร่วมจากรอยโรคที่พบใน CT finding
rupture แนวทางการรกัษา เช่น เดียวกับกลุ่ม PU perforation
อาการ
คนไข้กลุ่มนี้มักจะอยู่นิ่งๆ เพราะยิ่งขยับยิ่งปวด
Tachycardia, rigid abdomen , Involuntary guarding ,Reduced or absent bowel
Ischaemic Bowel
พบในผู้สูงอายุ
เคยผ่าตัด Gut obstruction
มีความผิดปกติจากโรคประจําตัว เกี่ยวกับการแข็งตัวของเลือด หรือ AF
การใช้ยาบางชนิด เช่น ยาคุมกําเนิด
อาจจะมีโรค (DVT),Stroke หรือ โรคปอดกลุ่ม (PE)
มาด้วยอาการปวดท้องเป็นๆ หายๆ
กินปวดมากขึ้น
ก่อนเกิดไส้เน่า จะมีอาการปวดท้องบิดรุนแรง
ไส้ขาดเลือด ลําไส้หยุดการทํางาน
อาการปวดท้องบิดบรรเทาลงแต่ท้องอืด มากขึ้น
ติดเชื้อในกระแสเลือด
PE
มักตรวจพบท้องอืด abdominal distension
v/s ไม่ stable
ไข้สูง
เจาะเลือด พบภาวะ acidosis, serum lactate ขึ้นสูง
ยืนยันการวินิจฉัยด้วยการ CT whole abdomen with Contrast
1 more item...
แนวทางการรักษา
ผ่าตัดรักษาตัดต่อลําไส้ส่วนที่เป็นปัญหา
เปิดลําไส้ทางหน้าท้อง colostomy ถ้าเป็นจุดที่ต่อไส้ไม่ได้
การเตรียมผู้ป่วย
NPO
1 more item...
Hirschsprung disease
แนวทางการดูแล
Rest bowel
NPO และใส่ NG หรือ OG decompression
Resusitation ให้ iv Fluid
เจาะ lab pre-op DTX
1 more item...
Abdominal pain in women
Ovarian cyst
ไม่มีไข้ คลำได้ก้อน
ก้อนมากกวา่า 5 cm พบสูตินารีแพทย์
เฝ้าระวัง CA ovary
Tuboovarian abscess or PID
ตกขาวสีผิดปกติ ปวดแสบ ไม่คัน
อาจคลําได้ก้อน มีไข้ถ้ารุนแรงมี sign of sepsis ได้
Endometriosis
รอบเดือนผิดปกติเป็นเรื้อรัง บางรายอุจจาระปัสสาวะเป็นเลือดได้
ทําใหเ้กิดภาวะไส้ตันจากพังผืดได้
Acute Cystitis Vs Acute pyelonephritis
หญิง > ชาย
อาการ
ไข้มักพบไข้สูงหนาวสั่นได้ใน acute pyelonephritis
ถ้าเป็นเรื้อรัง หรือปวดร้าวมาหน้าขา อย่าลืมคิดถึง stone
การรักษา
ATB คลุมกลุ่ม gram negative 3 วัน VS 7 วัน
Gastroenteritis
Hx.
ปวดรอบสะดือ ปวดบิดๆ (crampy) คลื่นไส้อาเจียนท้องเสีย
TEST CBC พบ leucocytosis stool exam
Risk factor
ไม่มีชัดเจน แต่มักสัมพันธ์กับอาหารการกิน
Exam
ปวดท้องทั่ว ไม่ชัด มีไข้และมีอาการขาดน้ำได้
Acute pancreatitis
HX. ปวดลิ้นปี่ > ทะลุหลัง หายใจลําบาก คลื่นนไส้อาเจียน กินแล้วปวดมากขึ้น โดยเฉพาะของที่มัน
Exam
ปวดรอบสะดือลิ้นปี่ > และออกด้านข้างค่อนไปทางด้านหลัง
(Flank area) Shock ในรายที่รุนแรง
TEST amylase lipase CT
Acute Hepatitis
Hx. อาการเหมือน cholangitis อ่อนเพลีย
Risk
Viral hepatitis, alcohol, autoimmune Drug เชน่ acetaminophen toxicity
Exam
ตัวตาเหลือง มีไข้หรือไม่มีก็ได้ปวดใต้ชายโครงขวา บางคน คลําได้ตับโต
TEST
viral Heptitis profile B,C /INR prolong /
LFT direct = indirect /Increase WBC AST ALT AP
Abdominal pain in neonates, infants, and
young children
มาด้วยอาการท้องอืด บางครั้งคลําได้ก้อนในช่องท้อง ตรวจพบ sign of
sepsis ไม่ถ่าย หรือถ่ายมีมูกเลือด
NEC
พบบ่อยในเด็ก
LOW birth weight < 1500 g
Preterm < 32 wk
อาการ
Air in hepatic vein
Thickening bowel wall
Pneumatosis intestinal
อาเจียนเป็นน้ำได้ร่วมกับภาวะท้องอืด ต่อมาแย่ลง
เริ่มถ่ายเป็นเลือดจาก bowel ischemia
Peptic ulcer disease
Hx.
ปวดบริเวณลิ้นปี่ > ทะลุไปหลังได้คลื่นไส้อาเจียน
และอาเจียนเป็นเลือดได้อาการปวดสัมพันธ์มื้อออาหาร
Risk factor
Nsaid, alchol
Exam
Epigastric tenderness แต่ถ้า peritonitis แสดงถึง perforation
TEST
CBC EGD H.pylori test
Appendicitis
ช่วยลดการติดเชื้อในลำไส้ โดยมีเนื้อเยื่อที่ใช้ผลิต
ภูมิคุ้มกันกลุ่ม immumoglobulin โดยเฉพาะ IgA
พบบ่อยในช่วงอายุ10-30 ปี > โดยพบมากในช่วง 20 ปี
ปัจจัยที่มีผลต่อ Rupture appendicitis
1.อายุมาก/อายุน้อย
2.ภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง
3.สภาพร่างกาย อ้วน ตั้งครรภ์
4.ระยะเวลาตั้งแต่เริ่มมีอาการ
ปัจจัยบ่งชี้การเกิด Rupture appendicitis
1.ไข้สูง 37.8-37.9
2.PMN>90% 3.15เท่า เทียบกับ 75%
3.Tachycardia
In children
อาการเหมือนกับผู้ใหญ่
อายุ<5yrs.
ในเด็กเล็กอาจมาด้วยลําไส้อุดตันได้
Differential Dx.
เด็ก
DHF,Henoch schonlein purpura, acute diarrhea, UTI
ผู้ใหญ่
UC, ectopic pregnancy, PID, dysmenorrhea, salpingitis, acute pyelonephritis, PU
in pregnancy
วินิจฉัยยาก
ไม่แนะนําให้ทำ CT scan
in Elderly
Incidence 5-10% ในคนอายุมากกว่า 60 ปี
ตรวจหน้าท้องไม่ชัด เพราะกล้ามเนื้อไม่แข็งแรง
Clinical diagnosis
ปวดรอบๆสะดือ ย้ายมาใต้สะดือค่อนไปทางด้านขวา กรณีไส้ติ่งแตกไปแล้ว ผู้ป่วยจะมีไข้สูง
Dx.จาก>ปวดต่อเนื่อง 6hr. ต่อเนื่องไม่ทุเลา
3-4 hr.ย้ายมาปวดที่ท้องน้อยด้านขวา
ถ้าอาการไม่ชัด และ alvarado score >4 ให้ admit
และตามตรวจ abdomial sign
Physical examination
Low grade fever
Abdominal examination
RLQ tenderness
Rebound tenderness
Guarding
กด LLQ ปวด RLQ
Dunphy's sign ไอปวด
Psoas sign
Obturator sign
PRได้ tenderness
U/S>blind ending, non peristaktic loop,
diameter>6mm.
CT scan ช่วยวินิจฉัย appendicitis
มีความแม่นยำสูง
แนะนําส่งตรวจเมื่อ
อาการปวดไม่ดีขึ้นหลังจากติดตามดูอาการ 24 ชม
ปวดท้องต่อเนื่องโดยไม่ทราบสาเหตุ
Gastrointestinal bleeding
Lower GI bleeding
ส่วนมากเลือดจะหยุดเอง แต่ถ้าต้องใหเ้ลือดมากกว่า 2 unitใน 24 ชม
Cause
anatomical cause
diverticulosis
vascular cause
angiodysplasia, ischemic, radiation-induced
inflammatory cause
infectious, idiopathic
neoplastic
การซักประวัติ
โรคร่วม, ยาที่ใช้alcohol, อาการร่วม ปวดท้อง น้ำหนักลด ถ่ายเป็นมูก
ท้องผูกเรื้อรัง,การผ่าตัด/หัตถการก่อนหน้า
การตรวจร่างกาย
1.Vital sign
2.ทั่วไปเช่น
cirrhosis sign
Surgical scar
3.Abdominal sign
4.PR +/- proctoscope
Angiodysplasia
พบในคนสูงอายุโดยเฉพาะ > 60 ปี
ผ่าตัดเมื่อ V/s unstable or massive bleeding ( > 4 unit / 24 ชม.)
Anal fissure/Hemorrhoid
การดูแลรักษา
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดูแลสุขภาพ ทานผักผลไม้ เพิ่มการดื่มน้ำ
ใช้ยาระบายอ่อนๆ
Stool softenner ใน anal fissure ( Fibro-gel, mucillin )
Flavonoid drug ใน hemorrhoid ( Daflon,เพชรสังฆาต )
Pain control
Warm sit bath
Investigation
Colonscope
ทําการรักษาได้ หรือ biopsy
CTA
Angiogram ปัจจุบันนิยมทํา CTA มากกว่า
Rbc scan
Limited BE ในกรณีมะเร็ง หรือ diverticulum
Upper GI bleeding
กลุ่มเสี่ยงสูงที่ต้องดูแลใกล้ชิด
Adrenal insufficiency, ตับ ไต หัวใจ,มีปัญหา
Coagulopathy,กลุ่มดื่มสุราหนัก
Medication treatment
Variceal
ให้ Somatostatin or Somatostatin analoque( Octreotide)
50 microgram/ hr ให้ 3-5 วัน
Non variceal
High dose omeprazole 40 mg iv ทุก 12 ชม 3-5 วัน หรือ 80 mg iv. Push and Drip Proton pump inhibitor 8 mg/hr. (keep PH <6.0)
การแก้ Coagulopathy
PTT prolong > 1.5 times
Platelet < 50,000/ mm3
ให้FFP เมื่อให้PRC > 6 unit
ให้ Platelet เมื่อให้PRC > 10 unit
พบในชายมากกว่าหญิง
อาการ
hematemesis, NG lavage เป็น coffee ground หรือถ่ายดํา melena, hematochezia, Syncope, Dyspepsia,Epigastric pain, Heartburn
การดูแลเบื้องต้น
1.การประเมินเบื้องต้น (Initial Assessment)
Question ?
เป็น gastrointestinal bleeding ?
upper หรอื Lower ?
Variceal or non variceal cause ?
Vital sign stable ?
Active Bleeding ?
Co-morbid disease ?
Past history medication ?
2.การแก้ไขภาวะวิกฤติเบื้องต้น (Initial Resuscitation)
3.การดูแลภาวะวิกิฤติ, เฝ้าระวัง และหาตําแหน่งของเลือดออก
4.การให้การวนิจฉัยและรักษาเฉพาะเจาะจง
active bleeding ร่วมกับภาวะ hypovolemic shock พิจารณาให้เลือด
มีโรคร่วมทางระบบหัวใจ โรคไต หรือ โรคตับ
monitor ผู้ป่วยเพิ่มเติมด้วยการดู central venous pressure
การดูแลทางการพยาบาล
NPO
ให้ IV hydration
Monitoring เรื่องเฝ้าระวัง Hypovolemic shock และ rebleeding
โดยประเมินจาก I/O, urine output, serial Hct , vital
sign ร่วมกับระดับความรู้สึกตัว และสาย NG
Bowel obstruction
Classification
Small bowel obstruction
Large bowel obstruction
แบ่งตามกลไก
Mechanical obstruction
Mechanical obstruction
สาเหตุ
Adhesive disease, Neoplasm, Herniation, Inflammatory bowel disease, Intussusception, Volvulus
Clincal
colicky abdominal pain
nausea and vomiting
abdominal distension
a cessation of flatus
bowel movements ช่วงแรก active
ต่อมาจะลดลงเมื่อเกิด bowel ischemia
*NG มี fluid content เหมือนสีอุจจาระ แสดงว่าเป็น close
loop obstruction ใหเ้ตรียมผ่าตัด
การซักประวีติ
ไม่ถ่าย ไม่ผายลมมากี่วัน
ถ่ายลําเล็กลงไหม Bowel habbit change น้ำหนักลด
GI symptom
อาการไข้อาการร่วม ปวดท้อง จุดกดเจ็บ ?
อาการไข้อาการร่วม ปวดท้อง จุดกดเจ็บ ?
การผ่าตัด การรกัษาก่อนหน้า
ประเมินที่สําคัญ/ใช้ในการส่งเวร
Abdominal sign เฝ้าระวัง peritonitis
ให้ยาแก้อาเจียน และยาบรรเทาอาการปวดท้องชนิดไม่รุนแรงมากเพื่อติดตามดูอาการทางหน้าท้องได้
ติดตาม V/S
ติดตาม Urine output เฝhาระวัง AKI
ติดตามปริมาณน้ำที่ออกจาก NG รวมถึงดูสีและติดตามดูว่าสาย NG ทํางานหรือไม่
การถ่าย และการผายลม สีอุจจาระมีเลือดปน?
การพยาบาลผู้ป่วยลําไส้อุดตัน
NPO
ให้ hydration +/- Fluid resuscitation
Complete lab +/- pre-operation
ปรึกษาอายุรแพทย์ เพื่อเตรียมผ่าตัด
พิจารณาให้ ATB
ใส่ NG เพื่อ Therapetic decompression
ใส่ foley catheter
พิจารณาจองเลือด +/- ICU
ให้ข้อมูลญาติและผู้ป่วย
Biliary tract disease
Mirizzi’s syndrome
อาการเหมือน cholecystitis ทั่วไปอาจเหลืองเล็กน้อย เป็นสาเหตุที่มักทําใหเ้กิดCBD injury จากการทํา LC
Symptomatic gall stone
การทํา ESWL ไม่มี role biliary tract stone
เพราะว่าทําใหเ้กิด cholagitis ได้
Hx.
ปวดบิดหลังทานอาหารประมาณ 30 นาทีปวดใต้ชายโครงขวา ไม่มีไข้ไม่มีตัวตาเหลือง
Risk
ทานอาหารมัน กลุ่มโรคเลือดธาลัสซีเมีย ท้อง อ้วน เบาหวาน น้ำหนักลดรวดเร็ว
Exam
ท้องอืดเล็กน้อย ปวดท้องเล็กน้อย ใต้ชายโครงขวาและ epigastrium
Test
CBC LFT U/S
การรักษา
รักษาตามอาการ ด้วยการให้ยารักษากลุ่มเดียวกับการรักษา dyspepsia รักษาตามอาการ และลดการทานของมัน
ผ่าตัดเมื่อ
อาการปวดท้องรบกวนชีวิประจําวัน ขนาดนิ่ว > 1.5 CM. Gall stone induce pancreatiti
Acute cholecystitis
Hx.
ปวดท้องใต้ชายโครงขวาร้าวไปสะบักหลัง มีไข้ไม่มีตัวตาเหลือง คลื่นไส้อาเจียน
Treatment
NPO,IV Hydration, ATB iv, Pain control, พิจารณาผ่าตัดรักษา OC หรือ LC
Risk gallstone
Exam
RUQ pain หายใจแล้วเจ็บมากขึ้น
Murphy’s sign positive
Test CBC LFT U/S
1 more item...
Acute cholangitis
Hx.
ไข้คลื่นไส้อาเจียน ปวดใต้ชายโครงขวา ตัวตาเหลือง ท้องอืด และปวดรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ (progressive pain)
Risk
CBD stone ,biliary duct stricture Malignancy
Exam
Charcot’s triage
Test
CBC LFT U/s CT MRCP ERCP
u/s finding
+/-CBD stone/CBD dilated > 4 mm.
Treatment
Npo,IV hydration,ATB ,pain control,Drainage
bile duct
ERCP or Surgery Explore CBD
Gall bladder polyp
วินิจฉัยจาก u/s
รักษาโดย conservative คล้าย symptomatic gall stone
ถ้าขนาด polyp < 6 mm. ตาม u/s ทุก 6 เดือน
ถ้ามากกว่า พิจารณาผ่าตัด LC
*กรณี> 1 cm. ใหพิจารณา CT ก่อนผ่าตัด
Malignancy CA gall bladder,Cholangiocarcinoma
ตัวตาเหลือง หรือปวดท้องเรื้อรังและตรวจพบก้อนที่ตับ
บางรายมีไข้ไม่ทราบสาเหตุเรื้อรัง เบื่ออาหาร น้ำหนักลด
สาเหตุ
1.นิ่วในทางเดินน้ำดีเรื้อรัง
2.พยาธิใบไม้ในตับจากการทานปลาดิบ
3.โรคกรรมพันธ์ุบางชนิด
Dx.
imaging CT หรือ MRCP
ค่า AFP มักจะปกติและ CEA CA19-9 มักจะสูง
การรักษา
ผ่าตัดและขึ้นอยู่กับระยะโรค
Keyword ในการดูแลพยาบาล
ผู้ป่วยมีโอกาสสูญเสียเกลือแร่จากการอาเจียนมาก
ควรพิจารณาติดตามดูแลการให้ยาลดการอาเจียน
/อาจจะต้องรายงานแพทยเ์พื่อส่งตรวจ electrolyte
ให้ยาบรรเทาอาการปวด
หลังผ่าตัด ERCP มีภาวะแทรกซ้อน
ถ้ามีอาการปวดอย่างรุนแรง และท้องอืด หรอือาเจียนเป็นเลือดหลังผ่าตัด ERCP รีบรายงานแพทย์
อาการตาเหลืองหลังผ่าตัดถุงน้ำและทางเดินน้ำดี
ร่วมกับมีภาวะท้องอืด ให้สงสัยภาวะทางเดินน้ำดีบาดเจ็บ ต้องรายงานแพทย์
ท้องอืด หลังการผ่าตัดส่องกล้องถุงน้ำดี
หลังผ่าตัดถุงน้ำดีทั่วไป ช่วงแรกจะงดน้ำงดอาหาร
กลุ่มผู้ป่วยที่เป็น Toxic cholangitis ทางเดินน้ำดีอักเสบ อาการจะค่อนข้างเร็วและรุนแรง
นางสาวมณฑิตา สุขเอี่ยม ชั้นปีที่ 4 เลขที่ 55 รหัสนักศึกษา 62126301057