Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่2 การรวบรวมข้อมูลเเละการสำรวจข้อมูล, :, น.ส อนิสา บุญน้อม ม5/3…
บทที่2 การรวบรวมข้อมูลเเละการสำรวจข้อมูล
2.1การรวบรวมข้อมูล
หมายถึง กระบวนการที่จะได้ข้อมูลที่ตอบสนองวัตถุประสงค์ของ
การวิจัยซึ่งแบ่งออกได้เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูล และการรวบรวม
ข้อมูล ปฐมภูมิโดยใช้เครื่องมือการ
สัมภาษณ์ การสำรวจ การสังเกต การกรอกแบบสอบถาม
ขั้นการรวมรวมข้อมูล
1.กำหนดวัตถุประสงค์
2.วางเเผนเเละพิจารณาเเหล่งข้อมูล
3.กำหนดวิธีการรวบรวมข้อมูล
4.ค้นหาเเละรวบรวมข้อมูล
5.สรุปผลข้อมูล
2.2การตรียมข้อมูล
เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการประมวลผลข้อมูล
เพื่อทำให้ข้อมูลมีความถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ ไม่มีค่าผิดปกติ
การคัดเลือกข้อมูลเป็นขั้นตอนการดึงข้อมูลสำหรับการวิเคราะห์
จากแหล่งที่บันทึกไว้
เลือกเฉพาะข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์และประมวลผล
การทำความสะอาดข้อมูล (Data cleansing)ขั้นตอนเบื้องต้นในการ Clean
Parsing คือ การแจกแจงข้อมูล
Correcting คือ การแก้ไขข้อมูลที่ผิดพลาด
3.Standardizing คือ การทำข้อมูลให้เป็นรูปแบบเดียวกัน
Duplicate Elimination คือ การลบชุดข้อความซ้ำซ้อนทิ้ง
การแปลงข้อมูล (Data transformation)
เป็นการเตรียมข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่พร้อมสำหรับการประมวลผล
โดยรูปแบบของข้อมูลที่พร้อมประมวลผลในโปรแกรมตารางทำงานนั้น
การเชื่อมโยงข้อมูล (Combining data)
กรณีที่ต้องการใช้ข้อมูลของกลุ่มตัวอย่างที่มีการเผยแพร่จาก
หลายแหล่ง หรือมีหลายไฟล์ข้อมูลต้องทำการเชื่อมโยงข้อมูลจากหลาย
แหล่งเข้าด้วยกัน
2.3การสำรวจข้อมูล
กระบวนการสำรวจข้อมูล มี
ขั้นตอนหลัก ๆ คือ การวาดแผนภาพหรือ กราฟของข้อมูลในรูปแบบต่างๆ เพื่อ
พิจารณาภาพรวมของข้อมูล
เครื่องมือพื้นฐานในการสำรวจข้อมูล
กราฟเส้น (line chart) — แสดงแนวโน้มของข้อมูล
ฮิสโทแกรม (histogram) — แสดงความถี่ของสิ่งที่สนใจ
แผนภาพกล่อง (box plot) — แสดงข้อมูลของคุณลักษณะพิเศษ
แยกกลุ่มกัน
แผนภาพการกระจาย (scatter plot)
— แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง 2 คุณลักษณะที่สนใจ
การสำรวจข้อมูลด้วยการเขียนโปรแกรม
2.4 ข้อมูลส่วนบุคคล
หมายถึง ข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งเฉพาะตัวของบุคคล เช่น การศึกษา ฐานะ
การเงิน ประวัติสุขภาพประวัติอาชญากรรม ประวัติการทำงาน หรือ ประวัติ
กิจกรรมต่างๆ ที่มีชื่อของบุคคลนั้น
ประเภทของข้อมูล
ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Data) คือ ข้อมูลที่เป็นตัวเลขหรือ
นำมาให้รหัสเป็นตัวเลขซึ่งสามารถนำไปใช้วิเคราะห์ทางสถิติได้
ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) คือ ข้อมูลที่ไม่ใช่ตัวเลขแต่เป็นข้อความหรือ
ข้อสนเทศ
ลักษณะข้อมูลที่ดี :
มีความถูกต้องเเละเชื่อถือได้
มีความสมบูรณ์ครบถ้วน สามารถนำข้อมูลไปใช้ได้
มีความทันสมัย สามารถนำไปใช้ได้ทันที
ตรงตามความต้องการของผู้ใช้
มีความสอดคล้องกับข้อมูล
เรียนรู้เเหล่งข้อมูล
เเหล่งข้อมูลปฐมภูมิ เป็นเเหล่งที่ให้ข้อมูลกับผู้รับโดยตรง เช่น การสังเกต การทดลอง
เเหล่งข้อมูลทุติยภูมิ เป็นเเหล่งข้อมูล ที่ผู้อื่นรวบรวมเอาไว้
:
น.ส อนิสา บุญน้อม ม5/3 เลขที่29