Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Administration of head ward, นางสาวดาวิษา เพริศแก้ว 62103460 - Coggle…
Administration of head ward
MOTIVATION
ความหมาย
เป็นกระบวนการที่ใช้ก็การกระตุ้นหรอ การจูงใจแบบไม่อิงเกณฑ์ พลิกดินให้บุคคลแสดงพฤติกรรมหรือ ปฏิบัติกิจกรรมคานทีต้องการ
กระบวนการจูงใจ
1.ความต้องการ (NEED)
2.แรงขับ (DRIVES)
3.เป้าหมาย (GOAL)
แบ่งเป็น 2 ลักษณะ
การจูงใจแบบอิงเกณฑ์
การจูงใจแบบไม่อิงเกณฑ์
ประเภทการจูงใจ 2 ประเภท
การจูงใจภายนอก EXTRINSIC MOTIVATIOM เป็นการจงใจโดยใช้สิ่งเร้าจากนอก เช่น การให้ผลตอบแทน รางวัลเงินเดือน เพื่อบุคคลแสดงพฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง
การจูงใจภายใน INTRINSIC MOTIVATIOM เป็นการใช้แรงจูงใจที่เกิดขึ้นในตัวบุคคลเอง เช่น ความต้องการ เสียง ความ ต้องการอำนาจซึ่ง ผลให้บุคคลแสดงพฤติกรรมเพื่อตอบสนองความต้องการนั้น
การเจรจาต่อรอง
ความหมาย
กระบวนการของบุคคลที่ต้องการแก้ไขปัญหาโดยการเพื่อให้เกิดร ประนีประนอม
ลักษณะและรูปแบบการเจรจาต่อรอง
1.การเจรจาที่มีลักษณะเป็นการร่วมมือ(WIN-wIN)
2.การเจรจาที่มีลักษณะเป็นการแข่งขัน (WIN-LOSE)
ขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
1.ขั้นเตรียมการเจรจา ต้องกำหนดกลยุทธ์ จําเป็นต้องศึกษาข้อมูลและ ประเด็นปัญหา
ขั้นดำเนินเจรจา ผู้เข้าร่วมเจรจาต้องใช้ความสามารถเฉพาะตัวอย่างเต็มที่
ขั้นบังคับใช้ผลของการเจรจาให้ปฏิบัติได้จริง ปฏิบัติตามผลการเจรจาที่ ได้ตกลงกันไว้
คุณลักษณะของหัวหน้าหอผู้ป่วย
• เป็นพยาบาลวิชาชีพที่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสาขาการ พยาบาลมีประสบการณ์ในการปฏิบัติการพยาบาลมาไม่น้อยกว่า 5 ปี ต้องมีประสบการณ์ในสาขานั้นไม่น้อยกว่า 1 ปี
• ต้องเป็นผู้นำหรือควบคุมการปฏิบัติงานบริหารบุคคลากรจัด โครงการของหน่วยงานตามขอบข่ายและความรับผิดชอบ
• ร่วมให้คําแนะน่าและแสดงความคิดเห็นในงานที่มีความรับผิดชอบ
• เป็นที่ปรึกษาให้กับบุคคลากรในหน่วยงาน
• คิดค้นวิธีการนำจุดเน้นของหน่วยงานลงสู่การปฏิบัติและเป็น ผู้นำในการพัฒนาคุณภาพการพยาบาลในหน่วยงาน
บทบาทหน้าที่
ด้านการประสานงาน
-ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ปัญหา ให้เกิดความคล่องตัวในการจัดการบริการ
-ประสานงานกับอาจารย์ประจําหอผู้ป่วย ในการจัดฝึกปฏิบัติ
เป็นผู้ประสานการดำเนินงานบริการ พยาบาลทุกรูปแบบ
ด้านการวางแผน
-วางแผนการดำเนินนโยบาย กำหนด ยุทธศาสตร์ด้านการพยาบาลโดยบูรณา การกับยุทธศาสตร์ของโรงพยาบาล
-วางแผนอัตรากำลังทางการ พยาบาลให้เพียงพอและสอดคล้องกับ การจัดบริการพยาบาล
-วางแผนการดำเนินการพัฒนาคุณภาพ การพยาบาลทั้งแผนระยะยาวและระยะสั้น
ด้านการบริการ
ร่วมกิจกรรมเยี่ยมตรวจโรง พยาบาล (HOSPITAL ROUND)
-ให้คําปรึกษา แนะนําและให้ข้อมูล แก่ผู้บริหารทั้งภายในและภายนอก เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจ
เป็นที่ปรึกษาทางการพยาบาลให้ คําแนะนํา วินิจฉัยและแก้ปัญหาที่ สําคัญทางการพยาบาล
ด้านการปฏิบัติ
-ดำเนินการและส่งเสริมให้มีการจัด ทําวิจัยทางการพยาบาล
-เป็นผู้กําหนดมาตรฐานการพยาบาล
-เป็นผู้นําในการกำาหนดพันธกิจ กำหนดเป้าหมายในการพยาบาลและเป็น ผู้กําหนดแนวทางในการพัฒนาองค์กร
EMPOWERMEMT
ความหมาย
กระบวนการที่สะท้อนให้เห็นความสามารถ ของบุคคลในการที่จะดึงสิ่งที่มีอยู่ภายใน ตัวเอง จัดการสร้างอิทธพิลกับตัวเอง
หลักการ
เปิดโอกาสให้ทุกคนร่วมในการตัดสินใจ กําหนดเป้าหมายสร้างวิสัยทัศน์กำหนด พันธกิจและสร้างความร่วมมือในการ กำหนดแผนงานต่างๆ
หน้าที่
-เป็นวิธีกระตุ้นให้สังคมมีส่วน ร่วมในการอยู่ร่วมกันในสังคม
-ช่วยใหค้นกําหนดชีวิตตนเองได้
องค์ประกอบ
-การเชื่อมั่นในตนเอง
-การรับรู้ศักยภาพของตนเอง
-การดำเนินชีวิตเชิงรุก
COMMUNICATION
ความหมาย
เป็นการนําสาระ (MESSAGE/SOURCE) หรือเรื่องราว ต่างๆ(CONTENT)ของคนหนึ่งให้ผู้อื่นได้รู้ได้เข้าใจโดยอาศัย สื่อต่างๆเป็นตัวน่าสาระที่ต้องการยไปสู่ผู้รับสาระ (RECEIVER) โดยผู้ที่รับสาระสามารถรู้และเข้าใจสาระที่ส่งไปให้ ตรงกับที่ผู้ส่งสารต้องการ
รูปแบบการสื่อสาร
-รูปแบบเส้นตรง (CHAIN) ในแนวดิ่ง การนำาเสนอผู้มีอำานาจ หรือ แนวระนาบ เป็นการแจ้งข้อมูลข่าวสารในระดับเดียวกัน
-รูปแบบวงล้อ (WHEEL) เป็นการสื่อสารกระจายรอบทิศ
-รูปแบบวงกลม (CIRCLE) เป็นการสื่อสารสิ่งที่ต้องการให้รู้กันทั่วไป -รูปแบบทุกช่องทาง (ALL CHANNEL) สามารถติดต่อกันได้ทุกมิติ
องค์ประกอบการสื่อสาร
ผู้ส่งสาร (SENDER) สาร (AESSAGE) ผู้รับสาร (RECEIVER) โดยใช้ช่องทางกลางในกาส่งสาร (TRANSAITTER)
ประโยชน์การสื่อสาร
-ข้อมูลข่าวสารที่ดีสามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการบริกหารครั้งแล้วต่อไปได้
-ช่วยให้เกิดการประสานงานที่ดี ช่วยในการวินิจฉัยได้อย่างถูกต้อง สั่งการได้รวดเร็ว
-เกิดความสามัคคีในหมู่คณะผู้ร่วมงานมีขวัญกำลังใจในการทํางาน
-มีความเข้าใจได้ตรงกันเกิดมนุษยสัมพันธ์ที่ดีในหมู่คณะ
CRITICAL THINKING
ความหมาย
เป็นกระบวนการคิดที่มีเป้าหมายนำไปสู่การค้นหาความ จริงการเปลี่ยนแปลงใหม่เพื่อให้แสดงสิ่งที่ดีกว่า ถูกต้อง เหมาะสมกับการค้าเนินงานและบริบทแวดล้อมและเกิดผล ต่อส่วนรวม
ขั้นตอนและเทคนิคการคิดวิพากษ์ มี 5 ขั้นตอน
1.เผชิญหน้ากับเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิด
( TIGGER) การเผชิญหน้าทำให้เปลี่ยนมุมมอง
2.การประเมินสถานการณ์ (APPRISAL) โดย ตรวจสอบด้วยตนเองอย่างละเอียด
3.การวินิจฉับตรวจสอบอย่างละเอียด (EXPLORATION) เริ่มยอมรับและอธิบายสิ่งที่เกิด
4.พัฒนามุมมองที่แตกต่างไปจากเดิม (DEVELOPMENT OF ALTERNATIVE PERSPECTIVE) การค้นหาทางเลือกใหม่แนวคิดใหม่ จะต้องดีกว่าเดิม
5.เผชิญหน้ากับเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิด (TIGGER)การเผชิญหน้าทําให้เปลี่ยนมุมมอง
ความคิดสร้างสรรค์ (CREATIVE THINKING) พื้นฐานสำคัญของความคิดสร้างสรรค์
1.สร้างอุปนิสัยช่างสังเกต
2.สร้างอุปนิสัยเป็นนักคิด จัดระเบียบ ความคิดตนเอง
3.การมีประสบการณ์โดยตรง และอ้อมอย่างเพียงพอ
4.มองโลกในแง่ดี
5.รับรู้ความแตกต่างของมนุษย์
การประสานงาน CO-ORDINATING
ความหมาย
เป็นการจัดระเบียบการทํางานที่มีความเกี่ยวเนื่องกันเพื่อ ให้บุคคลากรร่วมมือกันทำางานด้วยความสามัคคี
ประโยชน์
1.การดำเนินงานไปอย่างราบรื่น รวดเร็ว
2.ทุกคนเข้าใจนโยบาย เป้าหมายตรงกัน มีทิศทางในการทํางาน
3.ประหวัดเวลา วัสดุ อุปกรณ์และงบประมาณ
4.ลดข้อขัดแย้ง ส่งเสริมความสามัคคี
5.ขจัดปัญหาซับช้อน
6.สร้างขวัญกำลังใจในการทำงาน
ลักษณะการประสานงาน มี 2 ลักษณะ
1.การประสารงานภายในองค์ เช่น ประสานงานตามสายบังคับบัญชาตาม หน้าที่รับผิดชอบตามลักษณะงาน
2.การประสารงานภายนอกองค์ เช่น ประสานงานเพื่อตกลงทํางานวิชาการ วิจัยร่วมกัน ระหว่างสถาบัน
ความล้มเหลวในการประสานงาน
1.การไม่สามารถร่วมบิอกับผู้อื่นได้
2.วัฒนธรรมไทยไม่ชอบทํางายนเป็นทีม
3.การเคารพผู้อวุโสกว่า ผู้น้อยมักทนฟังผู้อวุโส ส่วนใหญ่
4.การปฏิบัติงานไม่มีแผนการล่วงหน้า
5.การมอบหมายงานซ้ำซ้อน
ปัจจัยที่จะช่วยให้เกิดการประสานงานที่ดี
1.การทํางานต้องมีแผนที่ดี มีเป้าหมายแน่นอน
2.การเข้าใจตรงกันและพร้อมช่วยเหลือกัน
3.มีการติดต่อสื่อสารหรือประชุมเสมอ
4.ผู้บริหารเห็นความสําคัญการ ประสานงานและมองการณ์ไล
CONFLICT ADMINISTRATION
ความหมาย
[ความไม่เห็นพ้องต้องกันระหว่างสมาชิกหรือกลุ่มขององค์ความร่วมมือ]
รูปแบบความขัดแย้ง
1.การดำเนินงานไปอย่างราบรื่น รวดเร็ว
2.ทุกคนเข้าใจนโยบาย เป้าหมายตรงกัน มีทิศทางในการทำงาน
3.ประหวัดเวลา วัสดุอุปกรณ์และงบประมาณ
4.ลดข้อขัดแย้ง ส่งเสริมความสามัคคี
5.ขจัดปัญหาซับซ้อน
ข้อดีและข้อเสีย
อาจจะช่วยปรับปรุงหรือส่งผลเสียขึ้นอยู่กับว่าความขัดแย้งถูกจัดการอย่างไร
PROBLEM SOLVING SKILLS
ความหมาย
เป็นความสามารถในการคิดและลงมือปฏิบัติซึ่งจำเป็น ต้องมีการนำองค์ความรู้และทักษะต่างๆ มาใช้ร่วมกัน เพื่อที่จะส่งผลให้สามารถแก้ไขปัญหาหรือสนองความ ต้องการในแต่ละสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม
ขั้นตอนการแก้ปัญหา
ทำความเข้าใจปัญหา
2.กำหนดประเด็นปัญหา
3.วิเคราะห์สาเหตุของปัญหา
4.ระบุการปัญหาที่เป็นไปได้
5.เลือกวิธีการแก้ปัญหาที่ดีที่สุด
6.วางแผนปฏิบัติการแก้ปัญหา
7.ติดตามและประเมินผลการแก้ปัญหา
ทักษาการแก้ไขปัญหาที่ดี
1.การกระตุ้นความขัดแย้งในแผนกงานที่ผลงานล้าหลัง
ลดหรือระวังความขัดแย้งเมื่อระดับความขัดแย้งสูง
การยุติความขัดแย้ง
นางสาวดาวิษา เพริศแก้ว 62103460