Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาและทารกที่มีความผิดปกติของปัจจ…
บทที่ 6
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาและทารกที่มีความผิดปกติของปัจจัยการคลอด
ชนิดของการคลอดที่มีภาวะผิดปกติ
Prolonged 1 st stage of labor ระยะที่หนึ่งของการคลอดเกิน24ชม ทั้งครรภ์แรกและครรภ์หลัง
Prolonged 2 nd stage of labor ครรภ์แรกใช้เวลาระยะที่2ของการคลอดเกิน 2 ชม ครรภ์หลังใช้เวลาเกิน 1 ชม
Prolongation disorder
3.1 Prolonged Latent phase การคลอดระยะ Latent phase นานกว่า 20 ชม ในครรภ์แรก และ 14 ชม ในครรภ์หลัง
Protraction disorder ปากมดลูกเปิดช้ากว่าปกติ หรือส่วนนำเคลื่อนลงต่ำช้ากว่าปกติในระยะ Active phase
4.2 Protracted descent ส่วนนำเคลื่อนลงต่ำช้ากว่า 1 ซม /ชม ในครรภ์แรก และ 2 ซม/ชม ในครรภ์หลัง
4.1 Protracted active phase of dilatation ปากมดลูกเปิดขยายช้ากว่า 1.2 ซม /ชม ในครรภ์แรกและ 1.5 ซม /ชม ในครรภ์หลัง
Arrest disorder ปากมดลูกไม่เปิดขยาย หรือส่วนนำไม่เคลื่อนต่ำในระยะ Active phase
5.1 Prolonged deceleration phase คือ ระยะ Deceleration phase นานกว่า 3 ชั่วโมงในครรภ์แรก และ 1 ชั่วโมงในครรภ์หลัง
5.2 Secondary arrest of dilatation คือ ปากมดลูกไม่เปิดขยายเพิ่มขึ้นนานเกิน 2 ชั่วโมง ในระยะปากมดลูกเปิดเร็ว
5.3 Arrest of descent คือส่วนนำไม่เคลื่อนต่ำลงนานเกิน 1 ชั่วโมง ในระยะที่ปากมดลูกเปิดหมดแล้ว
5.4 Failure of descent คือไม่มีการเคลื่อนต่ำของส่วนนำทารกในระยะ Deceleration phase หรือในระยะที่ 2 ของการคลอด
ความผิดปกติของกำลังคลอด
( Abnormality of Power)
1.1 แรงจากการหดรัดตัวของมดลูก
(force from uterine contraction)
Hypotonic Uterine dysfunction
มดลูกหดรัดตัวเป็นจังหวะ แต่ไม่แรง Duration < 40 วินาที Interval > 3 นาที Frequency < 3 ครั้ง ใน 10 นาที Intensity mild-moderate มักเกิดในระยะ Active phase และระยะที่ 2 ของการคลอด
การดูแลรักษา
ถุงน้ำคร่ำยังไม่แตก ควรเจาะถุงน้ำ ติดเครื่องบันทึกการเต้นของหัวใจทารก ถ้ามดลูกหดรัดตัวไม่ดี พิจารณาให้ Oxytocin เป็นการรักษาที่ดีที่สุด ก่อนให้ Oxytocin ต้องประเมินให้แน่ชัดว่าไม่มีการผิดสัดส่วนของทารกและช่องเชิงกราน ถ้ามีภาวะ CPD ต้อง C/S
Hypertonic Uterine dysfunction แบ่งเป็น 3 ชนิด
1) มดลูกหดรัดตัวไม่ประสานกัน (In-coordinated uterine dysfunction)
คือ มดลูกหดรัดตัวถี่และแรงมาก แต่ไม่สม่ำเสมอ ใยกล้ามเนื้อทำงานไม่สานกัน หดรัดตัวแรงที่บริเวณตอนกลางและตอนล่างไม่ได้หดรัดตัวบริเวณยอดมดลูก
2) มดลูกหดรัดตัวเป็นวงแหวนบนรอยคอดของทารก (Constriction ring) คือ กล้ามเนื้อมดลูกชนิดวงกลม มีการหดรัดตัวไม่คลายเฉพาะที่จนเกิดเป็นวงแหวนรอบตําแหน่งรอยคอดบนตัวทารก มักเกิดเหนือปากมดลูกขึ้นไป 7-8 ซม พบได้จากการตรวจภายใน
การดูแลรักษา
ให้ยานอนหลับและยาระงับปวดที่มีความแรงพอ เช่น morphine หรือ pethidine จะทําให้ หายปวดและสามารถพักได้ หลังจากนั้นมดลูกจะกลับมามีการหดรัดตัวตามปกติ
ถ้าทารกมีภาวะขาดออกซิเจนหรือการผิดสัดส่วนระหว่างศีรษะทารกกับอุ้งเชิงกรานมารดา ต้องรีบผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
3) มดลูกหดรัดตัวแบบไม่คลาย(Tetanic contraction) คือ มดลูกหดรัดตัวแข็งตึงมาก นานและถี่ ระยะพักสั้น Duration > 90 วินาที Interval < 90 วินาที intensity mild-moderate หากไม่ได้รับการแก้ไขจะมี Pathological retraction ring (Bandl’s ring) เกิดจากการได้รับยาเร่งคลอดมากเกินไป การคลอดติดขัดทารกในครรภ์อยู่ในท่าผิดปกติ หรือมีภาวะ CPD
การดูแลรักษา
หยุดยาทันที กรณีให้ Oxytocin
ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง กรณีมีการผิดสัดส่วนระหว่างศีรษะทารกกับอุ้งเชิงกราน
1.2 แรงจากการเบ่ง
(force from voluntary muscle)
Poor bearing down effort เกิดจากการเบ่งไม่ถูกวิธี ผู้คลอดหมดแรงเนื่องจากการคลอดเนิ่นนาน
การแก้ไขและรักษา
สอนให้ผู้คลอดเบ่งคลอดตามคําแนะนําเพื่อให้ได้แรงเบ่งที่มากพอที่จะทําให้ทารกคลอดออกมาได้
ใช้สูติศาสตร์หัตถการช่วยคลอดที่เหมาะสม เช่น การใช้คีม เครื่องดูดสูญญากาศ หรือการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
ความผิดปกติของช่องทางคลอด
( Abnormality of Passage)
2.1 กระดูกเชิงกรานแคบหรือผิดส่วน
(pelvic contraction)
2.1.3 ช่องออกเชิงกรานแคบ (pelvic outlet contraction) ระยะระหว่าง ischial tuberosity < 8 ซม และมุมใต้กระดูกหัวเหน่า < 85 องศา มักพบร่วมกับช่องกลางเชิงกรานแคบ ช่องออกเชิงกรานแคบมักไม่ทําให้เกิดการคลอดยาก แต่จะทําให้การฉีกขาดของฝีเย็บได้มาก
2.1.2 ช่องกลางเชิงกรานแคบ (midpelvic contraction) คือ ระยะระหว่าง ischial spine ทั้งสองข้าง < 10 ซม
2.1.1 ช่องเข้าเชิงกรานแคบ (pelvic inlet contraction) เส้นผ่าศูนย์กลาง A-P diameter ของช่องเข้า < 10 ซม. (ค่าปกติ 10.5ซม.), Transverse diameter < 12 ซม. (ค่าปกติ 13.5 ซม.), หรือวัด diagonal conjugate < 11.5 ซม
2.1.4 เชิงกรานแคบทุกส่วน (generally contracted pelvis)
2.2 ความผิดปกติของระบบอวัยวะสืบพันธุ์
( abnormalities of reproductive tract)
ความผิดปกติของทารก รก และน้ำคร่ำ ( Abnormal of Passenger)
3.1 ความผิดปกติของส่วนนำและท่าของทารก (faulty presentation and position)
3.1.5 ทารกอยู่ในท่าหงายศีรษะ (Presistant Occiput Posterior Position)
3.1.4 ทารกมีส่วนนำร่วม (Compound presentation)
3.1.3 ทารกแนวขวาง
3.1.2 ส่วนนำเป็นหน้าผาก (Brow presentation)
3.1.1 ทารกส่วนนำเป็นหน้า (Face presentation)
3.2 ทารกมีพัฒนาการผิดปกติ (abnormal development of fetus)
ทารกตัวโต (Fetal macrosomia)
ทารกหัวบาตร (Hydrocephalus)
ทารกท้องขนาดใหญ่ (Large fetal abdomen)
ทารกแฝดติดกัน (Conjoined twins)
คลอดไหล่ยาก
(shoulder dystocia)
อาการและอาการแสดง
หลังศีรษะทารกคลอดออกมาแล้ว ศีรษะจะมีลักษณะหดสั้นเข้าไปชิดกับช่องทางคลอดคล้ายคอเต่าที่เรียกว่า ‘turtle sign’
ผลกระทบ
ด้านมารดา
มดลูกแตก
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี ทําให้ตกเลือดหลังคลอด
มีโอกาสติดเชื้อได้สูง
ช่องทางคลอดฉีกขาด ทําให้เกิดการตกเลือด หลังคลอด
ด้านทารก
Brachial plexus injuries
Cerebral palsy
กระดูกหัก
เสียชีวิตในกรณีที่ติดไหล่นาน
การดูแลรักษา
ให้ผู้คลอดหยุดเบ่ง ห้ามกดบริเวณยอดมดลูก
ตัดหรือขยายแผลฝีเย็บให้กว้างขึ้นในกรณีที่ฝีเย็บแน่นมาก
ให้ยาระงับปวดหรือระงับความรู้สึกที่เพียงพอ
ใช้ลูกยางแดงดูดมูกในจมูกและปากทารกให้หมด
ถ้ามีปัสสาวะคั่งสวนออกให้หมด
Call for help เรียกขอความช่วยเหลือจากสูติแพทย์ กุมารแพทวิสัญญีแพทย์ พยาบาล ตลอดจนเจ้าหน้าที่อื่นๆ
ขั้นตอนการช่วยคลอด
McRobert maneuver
Woods corkscrew maneuver
Suprapubic pressure
Schwart-Dixon maneuver
Rubin’s maneuver
Delivery of posterior shoulder
Gaskin maneuver หรือ All-fours position
หักกระดูกไหปลาร้า (Fracture of clavicle)
Zavanelli maneuver
นางสาวน้ำทิพย์ ถมยา เลขที่32 รหัส 622801033