Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ตารางธาตุ, อิเล็กโทรเนกาติวิตี - Coggle Diagram
ตารางธาตุ
สมบัติ
ขนาดของอะตอม
วัดจากระยะห่างระหว่างนิวเคลียสของอะตอมที่อยู่ติดกัน สำหรับธาตุที่อยู่ในลักษณะโมเลกุลอะตอมคู่ รัศมีอะตอมจะถือว่าเป็นครึ่งหนึ่งของระยะระหว่างนิวเคลียสของ 2 อะตอมในโมเลกุล
พลังงไอออไนเซชัน
พลังงานที่ใช้ในการดึงอิเล็กตรอนหลุดออกจากอะตอมของธาตุที่อยู่ในสถานะแก๊ส เช่น การทำให้การทำให้โฮเจนอะตอมในสถานะแก๊ส ให้กลายเป็นไฮโดรเจนไออนในสถานะแก๊ส เขียนเป็นสมการทั้วไป
สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน
ในเคมีและฟิสิกส์อะตอม สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน ของอะตอมหรือโมเลกุลคือค่าที่แสดงถึงปริมาณพลังงานที่ ถูกปล่อยออกมา เมื่ออิเล็กตรอนถูกเพิ่มเข้าไปในอะตอมหรือโมเลกุลที่เป็นกลางทางไฟฟ้า ในสถานะแก๊สเพื่อทำให้เกิดไอออนประจุลบ X + e⁻ → X⁻ + energy
อิเล็กโทรเนกาติวีตี
อิเล็กโตรเนกาติวิตี เป็นค่าที่แสดงถึงความสามารถของอะตอมในการที่จะดึงอิเล็กตรอนเข้าหาตัวเองเมื่อเกิดพันธะเคมี ทั้งนี้ มีการเสนอวิธีการแสดงอิเล็กโตรเนกาทิวิตีหลายวิธี อาทิ เพาลิง สเกล ถูกเสนอในปี ค.ศ. 1932 มูลลิเกน สเกล ถูกเสนอในปี ค.ศ. 1934 และ ออลล์เรด-โรโชสเกล
-
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสี (Radioactive Element) คือธาตุที่มีองค์ประกอบภายในนิวเคลียส (Nucleus) ไม่เสถียร ส่งผลให้เกิดการสลายตัว หรือการปล่อยรังสีของธาตุอยู่ตลอดเวลา เนื่องจากปรากฏการณ์การแผ่รังสีของธาตุเป็นกระบวนการปรับสมดุล เพื่อสร้างความเสถียรภายในธาตุ ซึ่งในธรรมชาติ
ธาตุกัมมันตรังสีมักเป็นธาตุที่มีมวลมากหรือมีเลขอะตอมสูงเกินกว่า 82 เช่น เรเดียม (Radium) ที่มีเลขมวลอยู่ที่ 226 และเลขอะตอม 88 หรือยูเรเนียม (Uranium) มีเลขมวลอยู่ที่ 238 และเลขอะตอม 92
กลุ่มของธาตุในตาราง
ตารางธาตุ หมายถึง ตารางที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้นมาเพื่อความสะดวกต่อการศึกษาเกี่ยวกับธาตุโดยรวบรวมธาตุต่างๆเข้าไว้ด้วยกันโดยสมบัติทั้งกายภาพและทางเคมีของธาตุทําเป็นหมวดหมู่ให้เป็นระเบียบ และมีระบบในการจัดเรียงธาตุวิวัฒนาการเกี่ยวกับตารางธาตุ
1 โดเบอรีเนอร์ Dobereiner ได้จัดตารางธาตุที่มีสมบัตืคล้ายกันมาไว้หมู่เดียวกันหมู่ละ3 ธาตุโดยเรียงลำดับธาตุทั้งสามธาตุด้วยน้ำหนักอะตอมจากน้อยไปมากพบว่าความสัมพันธ์ของอะตอมคือน้ำหนักของอะตอมของธาตุที่จะเป็นครึ่งหนึ่งของผลรวมน้ำหนักอะตอมที่หนึ่งเเละสองเช่น คลอรีน โบรมัน เเละไอโอดีนน้ น้ำหนักอะตอมของโปรมีน = 1\2(น้ำหนักอะตอมของไอโอดีน)
1\2(35•5+127)=81.25ปัจจุบันน้ำหนัก =79.90โดเบอรีจึงได้เรียกการจัดเรียงธาตุาสมารถธาตุนี้ว่าLaw Of triads เเต่ผลการเรียงธาตุส่วนมากไม่เป็นไปตามกฏ
2นิวเเลนด์(Newlands) ได้จัดเรียงธาตุต่างๆตามน้ำหนักอะตอมจากน้อยไปมากโดยเรียงตามเเนวนอนพบว่าทุกๆธาตุที่8จะมีสมบัติเหมือนกันเเละนำธาตุทีมีสมบัติเหมือนกันมาไว้ด้วยกันก็จะได้ตารางการจัดเรียงธาตุมี7หมู่เเต่พบว่าบางธาตุเรียงไว้ในตารางจะไม่เป็นไปตามNewlands เรียกการจัดเรียงธาตุตามที่กล่าวมาLaw of octave
3แม่เยอร์และเมนเดเลฟได้เสนอตารางของการจัดเรียงธาตุขึ้นมาใหม่ทั้ง2ตารางคล้ายคลึงกันแต่ตารางธาตุของเมนเดเลฟให้รายละเอี่ยดและคล้ายคลึงกับตารางธาตุในปัจุบันได้มากวาซึ่งประกอบด้วยธาตุทั้ง7คาบ8หมู่และแต่ละธาตุใในหมู่เดียวกันจะมีความคล้ายคลึงกันในสมบัติทางเคทีและกายภาพและได้สร้างกฎเกี่ยวกบตารางธาตุขึ้นมามีใจความว่าฤ(สมบัติต่างของธาตุจะขึ้นอยู่กับนํ้าหนักอะตอมของธาตุของธาตุโดยมีการเปลี่ยนไปเป็นช่วงๆตามนํ้าหนักอะตอมที่เพิ่มขึ้น”นอกจากนี้ตารางธาตุของเมนเดเลฟได้เว้นไว้เผื่อธาตุที่ยังไม่พบในสมัยนั้นนอกจากนี้ยังได้ทํานายสมบัติต่างๆของธาตุธาตุที่ยังหายไปในตารางธาตุไว้ด้วยเป็นแนวทางให้นักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ใช้ค้นหาต่อไปอีกด้วย
-
ธาตุเเทรนซิชัน
สมบัติ
ขนาดของอะตอม
ขนาดของอะตอม วัดจากระยะห่างระหว่างนิวเคลียสของอะตอมที่อยู่ติดกัน สำหรับธาตุที่อยู่ในลักษณะโมเลกุลอะตอมคู่ รัศมีอะตอมจะถือว่าเป็นครึ่งหนึ่งของระยะระหว่างนิวเคลียสของ 2 อะตอมในโมเลกุล
พลังงานไอออไนเซชัน
พลังงานไอออไนเซชัน (อังกฤษ: Ionization Energy, IE) คือค่าพลังงาน ที่ใช้ในการดึงให้อิเล็กตรอนวงนอกสุด (เวเลนซ์อิเล็กตรอน) หลุดออกจากอะตอมหรือโมเลกุลที่อยู่ในสถานะก๊าซปริมาณพลังงานที่น้อยที่สุดที่สามารถทำให้อะตอมหรือโมเลกุลปลดปล่อยอิเล็กตรอน ค่าพลังงานไอออไนเซชันจะบ่งบอกว่าอะตอมหรือไอออนนั้นสามารถเสียอิเล็กตรอนได้ง่ายหรือยาก หรือในอีกมุมหนึ่งเป็นการบ่งบอกระดับพลังงานของอิเล็กตรอนวงนอกสุดของอะตอมหรือไอออนนั้นว่ามีความเสถียรมากเพียงใด โดยทั่วไปค่าพลังงานไอออไนเซชันจะมีค่าเพิ่มขึ้นเมื่อพยายามที่จะทำให้อิเล็กตรอนตัวต่อไปถูกปลดปล่อยออกมา เนื่องจากการผลักกันของประจุอิเล็กตรอนมีค่าลดลงและการกำบังของอิเล็กตรอนชั้นวงในมีค่าลดลง ซึ่งทำให้แรงดึงดูดระหว่างนิวเคลียสและอิเล็กตรอนมีค่ามาขึ้น อย่างไรก็ตามค่าที่เพิ่มขึ้นอาจไม่เพิ่มเท่าที่ควรจะเป็นในกรณีที่เมื่อปลดปล่อยอิเล็กตรอนตัวนั้นแล้วส่งผลให้เกิดการบรรจุเต็มหรือการบรรจุครึ่งในระดับชั้นพลังงาน เนื่องจากทั้งสองกรณีมีเสถียรภาพเป็นพิเศษ
กระบวนการสูญเสียอิเล็กตรอนนี้เกิดได้หลายครั้งสำหรับอะตอมหรือโมเลกุลที่มีหลายอิเล็กตรอน จึงเรียกเป็น IE1 IE2 IE3 ... ตามลำดับซึ่งก็คือค่าพลังงานในการดึงอิเล็กตรอนตัวที่ 1 2 3 ... นั่นเอง โดยอิเล็กตรอนตัวแรกย่อมจะหลุดออกไปง่ายกว่าอิเล็กตรอนลำดับถัดๆ ไปเสมอ พลังงานที่ต้องใช้จึงเพิ่มขึ้น
สัมภรรคภาพอิเล็กตรอน
สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน (อังกฤษ: Electron affinity) ของอะตอมหรือโมเลกุลคือค่าที่แสดงถึงปริมาณพลังงานที่ ถูกปล่อยออกมา เมื่ออิเล็กตรอนถูกเพิ่มเข้าไปในอะตอมหรือโมเลกุลที่เป็นกลางทางไฟฟ้า ในสถานะแก๊สเพื่อทำให้เกิดไอออนประจุลบ[1]
X + e− → X− + energy
อิเล็กโทรเนกาติวิตี
\chi , สภาพไฟฟ้าลบ[1]) เป็นค่าที่แสดงถึงความสามารถของอะตอมในการที่จะดึงอิเล็กตรอนเข้าหาตัวเองเมื่อเกิดพันธะเคมี (chemical bond) ทั้งนี้ มีการเสนอวิธีการแสดงอิเล็กโตรเนกาทิวิตีหลายวิธี อาทิ เพาลิง สเกล (Pauling scale) ถูกเสนอในปี ค.ศ. 1932 มูลลิเกน สเกล (Mulliken scale) ถูกเสนอในปี ค.ศ. 1934 และ ออลล์เรด-โรโชสเกล (Allred-Rochow scale)
-
-
-
-
-
-