Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนด [Placental abruption or abruptio placentae], image …
ภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนด
[Placental abruption or abruptio placentae]
ความหมาย
ภาวะที่มีการลอกตัวของรกที่เกาะในตำแหน่งปกติ หลังอายุครรภ์ 20 wksจนถึงก่อนทารกคลอด
อาการและอาการแสดง
กดเจ็บที่มดลูก
คลำส่วนของทารกไม่ชัดเจน เนื่องจากหน้าท้องแข็งตึง
มี Fetal distress
อาการไม่สัมพันธ์กับการเลือดออก
มดลูกหัดรัดตัวมาก
ระดับยอดมดลูกสูงขึ้น
คลอดก่อนกำหนดในบางราย
มีเลือดออกทางช่องคลอด
สาเหตุ
ความดันโลหิตสูง
การลดขนาดของมดลูก
แรงกระแทก
ผลจากหัตถการการของแพทย์
สายสะดือสั้น
การออกแรงต่อ Inferior vena cava
ความผิดปกติหรือเนื้องอกของมดลูก
สารปัจจัยเสี่ยง
จำนวนครั้งของการตั้งครรภ์
มีประวัติลอกตัวก่อนกำหนดในครรภ์ก่อน
มีความผิดปกติที่รกเอง
การแบ่งเกรดตามความรุนแรง
เกรด 1
มีเลือดออกให้เห็นภายนอกบางส่วน
เกรด 2
มีเลือดออกให้เห็นภายนอกมาก
เกรด 0
ไม่มีอาการแสดงให้เห็น
เกรด 3
มีเลือดออกทั้งภายในและภายนอก
การรักษา
ให้ออกซิเจน
เจาะเลือดตรวจหาหมู่เลือดและเตรียมเลือดไว้เพื่อให้ทดแทนเมื่อมีการเสียเลือดมากข้ึน
เจาะเลือดตรวจ complete blood count, B.U.N. electrolyte, plasma fibrinogen
เจาะเลือดหาระดับไฟบริโนเจน ถ้าเลือดไม่แข็งตัว ไม่เกิดลิ่มเลือดให้ไฟบริโนเจนทดแทน
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำเพื่อจะได้ตรียมให้เลือดได้ทันที
ให้ยาระงับปวดเช่น มอร์ฟีน
ใส่สายสวนปัสสาวะเพื่อบันทึกจำนวนน้ำดื่มและปัสสาวะ
บันทึกเสียงหัวใจทารกอย่างต่อเนื่องเพื่อเฝ้าระวังภาวะขาดออกซิเจน (Fetal distress)
การทำให้คลอดสิ้นสุดลงภายใน 6 ชั่วโมงหลัง จากได้วินิจฉัยแน่นอนแล้ว
ถ้าสภาพของมารดาและทารกในครรภ์ปกติหรือทารกตายในครรภ์คลอดทางช่องคลอด
โดยการเจาะถุงน้ำคร่ำ
ถ้าเจาะถุงน้าคร่ำแล้ว มดลูกหดรัดตัว ไม่ดี
ให้oxytocin drip
ในกรณีท่ีมารดาเสียเลือดมาก หรือทารกมีภาวะขาดออกซิเจน
ใหสิ้นสุดการคลอดโดยการผ่าตัดคลอด
ทางหน้าท้อง
ป้องกันการตกเลือดระยะหลังคลอด
ให้ยากระตุ้นให้มดลูกหดรัดตัวดีข้ึน
ถ้าหากมดลูกหดรัดตัวไม่ดี มีเลือดออกควบคุมเลือดหยุดไม่ได้
ให้ผ่าตัดเอามดลูกออก
10.ในกรณีอายุครรภ์น้อย รกมีการลอกตัวเพียงเล็กน้อยและอยู่ในภาวะสงบแล้ว ทารกไม่มีการขาดO2 อาจรักษาแบบประคับประคอง เพื่อยืดอายุครรภ์
การวินิจฉัย
การตรวจรกหลังคลอด
พบมีเลือดคั่งหลังคลอดและรอยถูกกดบริเวณรกด้านแม่
การตรวจภายใน
คลำไม่พบรก
ถุงน้ำคร่ำตึง
บางรายเจาะถุงน้ำคร่ำอาจพบน้ำคร่ำมีเลือดปน
การตรวจพิเศษอื่น
U/S
อาการและอาการแสดง ในรายที่เป็นน้อยอาการจะไม่แน่นอน แต่ในรายที่เป็นมากจะพบ
เลือดออกทางช่องคลอด มักมีอาการปวดท้องร่วมด้วย (painful bleeding) พบในรายชนิด revealed และ combined ส่วนในราย concealed type จะไม่เห็นเลือดออกทางช่องคลอด
มดลูกหดรัดตัวมากหรือแข็งเกร็ง มีอาการเจ็บครรภ์
กดเจ็บที่มดลูก (uterine tenderness) เฉพาะที่หรือทั่วไป
คลำส่วนของทารกไม่ชัดเจนเนื่องจากหน้าท้องแข็งตึง
มี fetal distress พบได้ร้อยละ 6และพบทารกตายในครรภ์ได้ประมาณร้อยละ 15
อาการแสดงของการเสียเลือดอาจไม่สัพันธ์กับปริมาณเลือดออกทางช่องคลอดโดยเฉพาะถ้าเป็น concealed type ผู้ป่วยอาจแสดงอาการช็อกโดยที่ไม่มีเลือดออกมาภายนอกให้เห็นก็ได้
ระดับยอดมดลูกสูงขึ้น
บางรายมาด้วยอาการและอาการแสดงของการคลอดก่อนกำหนด
ผลกระทบ
ต่อมารดา
Acute pituitary necrosis/ Sheehan's Syndrome
ต่อมพิทูอิตารีย์ส่วนหน้าขาดเลือดไปเลี้ยง
เยื่อบุโพรงมดลูกอักเสบ
ตกเลือดหลังคลอด
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี เนืองจากมดลูกมีการขยายใหญ่
ภาวะไตล้มเหลวเฉียบพลัน
เลือดไปเลี้ยงไตน้อยจากการตกเลือด
Hypofibrinogenemia+Consumpive coagulopathy
เลือดที่ออกแข็งตัวเป็นลิ่มเลือด
ต่อทารก
ขาดออกซิเจน
เกิดจาก
ทารกเสียเลือด
มดลูกหดรัดตัวถี่
มารดาเสียเลือด
น้ำหนักน้อย
ทารกมีการเจริญเติบโตน้อยกว่าปกติ
คลอดก่อนกำหนด
ซีด
มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับจำนวนเลือดที่เสียไปจากการลอกตัวของรก
การพยาบาล
รายที่มีเลือดออกอย่างรุนแรง
ควรทำ Coaglation time
ซักประวัติและเซ็นใบยินยอม
ใส่ผ้าอนามัย ติดตามเลือดที่ออก
งดสวดอุจจาระและทวารหนัก
เตรียมมารดาเพื่อผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องในรายที่อายุครรภ์เกิน 32 weeks
ถ้ามารดามีภาวะช็อกให้การพยาบาลโดย
ให้นอนราบปลายเท้าสูง
ให้ออกซิเจน
ให้ความอบอุ่น
ให้ IV fluid และเตรียมให้เลือด
Bed rest ใกล้โต๊ะทำงานพยาบาล
ระยะหลังคลอด
ดูแลทำความสะอาดร่างกายทั้วไป
ดูแลอาการผิดปกติ เช่น
การตกเลือดหลังคลอด
ให้การพยาบาลเหมือนการผ่าตัดทางหน้าท้อง
ดูแลด้านจิตใจ
รายที่มีอายุครรภ์ไม่ครบกำหนด
Check v/s และฟัง FHS
เจาะหาหมูเลือดและ CBC
สังเกตจำนวนเลือดที่ออกจากผ้าอนามัย
Record I/O เพื่อสังเกตอาการช็อก
จัดให้ Bed rest เพื่อป้องกันการแตกของถุงน้ำ
ให้รับประทานอาการที่มีคุณค่า
ชนิด
Concealed hemorrhage หรือ internal type
เป็นการลอกตัวจากตรงกลางรก เลือดจะขังอยู่ในมดลูกระหว่างส่วนของรกที่แยกตัวกับผนังมดลูก จะไม่มีเลือดออกมาให้เห็นทางช่องคลอด พบได้ 15-20%
Combinedhemorrhage
เลือดที่ออกเป็นแบบ Revealed hemorrhageร่วมกบับแบบ Concealed hemorrhage เป็นชนิดที่พบได้มากที่สุด
Revealed hemorrhage หรือ external type
เป็นการลอกตัวบริเวณขอบรก เลือดออกระหว่างเยื่อหุ้มเด็กและเยื่อหุ้มมดลูดค่อยๆเซาะออกมาทางปากมดลูกจนไหลออกมาให้เห็น พบได้ร้อยละ80%