Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความดันโลหิตสูงในระยะตั้งครรภ์ (Pregnancy Induced Hypertension: PIH) …
ความดันโลหิตสูงในระยะตั้งครรภ์
(Pregnancy Induced Hypertension: PIH)
จักรพงษ์ เจริญพัน 64019508
หมายถึง กลุ่มความผิดปกติซึ่งประกอบด้วยความดันโลหิตสูงเป็นหลักซึ่งอาจพบความดันโลหิตสูงก่อนการตั้งครรภ์หรือเกิดขึ้นระหว่างการตั้งครรภ์อาจพบร่วมกับการบวมและ/หรือตรวจพบProteinในปัสสาวะถ้ามีอาการรุนแรงอาจมีอาการชักหมดสติ
การตัดสินภาวะความดันโลหิตสูง ใช้เกณฑ์ดังนี้
ความดันโลหิต Diastolic (DP )เพิ่มขึ้นจากเดิม15 mmHg
ค่า Mean arterial pressure ( MAP )สูง ≥ 105 mmHg.หรือเพิ่มจากเดิม 20 mmHg.
ความดันโลหิต Systolic ( SP )เพิ่มขึ้นจากเดิม30 mmHg.
วัด 2ครั้งห่างกันอย่างน้อย6ชม.หลังจากท ่ให้นอนพักแล้ว
ความดันโลหิต Systolic / diastolic ≥ 140 / 90 mmHg
ซึ่งค่า MAP = Diastolic +(1/3 pulse pressure: PP)PP= SP-DP
อุบัติการณ์
พบได้ร้อยละ 5-10ของหญิงตั้งครรภ์ พบมากในครรภ์แรกและหญิงตั้งครรภ์ที่มีอายุน้อยกว่า20ปี และอายุมากกว่า 40 ปี
ประเภทของความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์
ความดันโลหิตสูงในระยะตั้งครรภ์ (Pregnancy Induced Hypertension: PIH)(หรืออาจเรียกว่าประเภท Pre-eclampsia/Eclampsia)
ครรภ์เป็นพิษPregnancy Induced Hypertension: PIH
Pre-eclampsia
มีโปรต นในปัสสาวะ (Proteinuria) และมีอาการบวมร่วมด้วย(Edema)
Eclampsia
ความดันโลหิตสูงชนิดที่มีโปรตีนในปัสสาวะหรือม อาการบวมและมีอาการชักร่วมด้วย
Chronic hypertension (CHT)/Coincidental hypertension
หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะความดันโลหิตสูงตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์ไม่ว่าจากสาเหตุใดก็ตาม หรือตรวจพบก่อนอายุครรภ์ 20สัปดาห์ และความดันโลหิตนั้นยังคงสูงอยู่ตลอดการตั้งครรภ์จนถึงระยะหลังคลอด
Pregnancy -aggravated hypertension หรือChronic hypertension with Superimposed pre-eclampsia or Eclampsia
มีภาวะความดันโลหิตสูงก่อนการตั้งครรภ์และเมื่อตั้งครรภ์อาการของความดันโลหิตสูงมความรุนแรงมากขึ้น ได้แก่ Chronic hypertension with Superimposed pre –eclampsiaหรือ Superimposed eclampsia
Transient or Gestational hypertension
ตรวจพบเมื่ออายุครรภ์มากกว่า20สัปดาห์ หรือตรวจพบภายใน24ชั่วโมงหลังคลอด ไม่มี อาการบวม ไม่มี โปรตีนในปัสสาวะ ความดันโลหิตกลับสู่ค่าปกติภายใน 12 สัปดาห์
สาเหตุ
กลไกการสร้างภูมิคุ้มกัน
(Immunological mechanism ) เชื่อว่าสาเหตุของการเกิดน่าจะมาจากความสามารถของภูมิต้านทานที่มีต่อเชื้อโรคในระยะไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์ไม่เพียงพอ หรือภูมิต้านทานบริเวณรกไม่มีประสิทธิภาพหรือเชื้อโรคบริเวณรกมากเกินกว่าที่ภูมิต้านทานบริเวณรกจะก าจัดได้นอกจากนี้ยังศึกษาพบว่าการติดเชื้อก่อนการตั้งครรภ์มีผลท าให้เกิดภาวะความดันโลหิตสูงมากขึ้
พันธุกรรม(Genetic predisposition)
การขาดสารอาหาร (Dietary deficiencies)
การหดเกร็งของเส้นเลือด( Vasoactive compounds )
การเปลี่ยนแปลงภายในผนังหลอดเลือดชั้นใน( endothelial dysfunction )
ปัจจัยเสี่ยง
ครรภ์แรกอายุน้อยกว่า 20 ปี
เคยผ่านการคลอดมาแล้วหลายครั้งอายุมากกว่า35ปี
อ้วน (Obesity) BMI > 30
เป็นCHT/ ครรภ์ก่อนเคยเป็น PIH
บุคคลในครอบครัวท ่ม ภาวะความดันโลหิตสูง
เป็นโรคเบาหวานหรือเป็นโรคไต มักจะม ภาวะความดันโลหิตสูงร่วมด้วย
ครรภ์แฝด (Multifetal pregnancy)
ครรภ์ไข่ปลาอุก (Hydatidiform mole)
ทารกบวมน้า(Hydrops fetalis)
ติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
พยาธิสภาพ
การหดเกร็งของหลอดเลือด (vasospasm) เป็นพยาธิสภาพประการแรกที่เกิดขึ้นในภาวะPIH
แรงต้านการไหลเวียนของโลหิตมีมากขึ้น
ยังมีผลให้เซลล์บริเวณรอบ ๆ เส้นเลือดที่หดรัดตัวขาดออกชิเจน จนเกิดภาวะเลือดออกและเกิดเนื้อตาย
angiotensin IIท ่กระตุ้นให้เส้นเลือดหดรัดตัว
ทำให้ endothelial cells มีการหดรัดตัวมากขึ้นจึงทาให้ endothelial ถูกทำลายจนกระทั่งเกร็ดเลือด และ fibrinogen ถูกทำลายจนลดน้อยลง
ระบบประสาท
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ระบบโลหิตวิทยา
ระบบการทำงานของตับ
ระบบการทำงานของปอด
ระบบปัสสาวะ
การเปลี่ยนแปลงของกล้ามเนื้อมดลูกและรก
อาการและอาการแสดง
1.ความดันโลหิตสูง
6.เจ็บลิ้นปี่หรือใต้ชายโครงขวา
7.ชัก
ระยะเตือน(premonitory stage) ใช้เวลา10 -20 วินาที ผู้ป่วยจะมีอาการกระสับกระส่ายกรอกตาหน้าบูดเบี้ยวถ้าไม่สังเกตจะไม่รู้เพราะบางครั้งจะมีอาการกระตุกที่หนังตา มุมปาก และคิ้วเท่านั้น
ระยะเกร็ง (tonic stage) ใช้เวลา10-20 วินาที กล้ามเนื้อจะเกร็งหลังแอ่นเกร็งกัดฟันแน่นตาถลนออกมาข้างนอกจนกระทั่งหยุดหายใจเพราะกล้ามเนื้อกระบังลมหดรัดตัว ถ้าปล่อยทิ้งไว้ผู้ป่วยจะตายในระยะน
ระยะชัก(clonic stage) ใช้เวลา60-90 วินาที คนไข้จะมีอาการเกร็งกระตุกอ้าปากขึ้นลงกัดฟันแน่นกัดลิ้น ซึ่งอาการชักจะเริ่มที่หน้าก่อนต่อมาแขนขาและชักทั้งตัว มีอาการหน้าเขียวสลับกับหน้าแดง
ระยะไม่รู้สึกตัว(coma stage) เหมือนคนนอนหลับนานเป็นชั่วโมงเป็นวันอาจมีอาการชักสลับด้วยยิ่งโคม่านานยิ่งเกิดอันตราย
5.ปวดศีรษะ
4.อาการผิดปกติทางสายตา ตาพร่าเล็กน้อยไปจนถึงตาบอดสนิท
3.บวม อาการบวมมักเกิดขึ้นเริ่มจากหลังเท้ามาที่ตาตุ่ม ขา หลังมือ หน้าท้อง ใบหน้า หรือทั่วร่างกายผู้ป่วยอาจสังเกตพบว่ารองเท้าคับหรือสวมเเหวนคับ
2.น้ำหนักเพิ่มมาก
ผลPIH ต่อมารดาและทารก
ผลต่อทารก
ทำให้แท้ง(spontaneous abortion)
Placental insufficiency
รกลอกตัวก่อนก าหนด ท าให้ทารกขาดออกซิเจนและอาหารทาให้เสียชีวิตได้
คลอดก่อนกำหนดทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
ต่อทารกแรกเกิด
ขาดออกซิเจนเรื้อรัง
ถ้าทารกที่ได้รับแมกนีเซียมซัลเฟต(MgSO4)จากมารดาในระยะคลอดมากเกินอาจเกิดภาวะ Hypermagnesemia
ทารกจะมีอาการกล้ามเนื้ออ่อนล้าไม่หายใจเป็นผลทำให้ APGAR SCORE ต่ำ
ผลต่อมารดา
ภาวะ DIC -มักพบในหญิงตั้งครรภ์ที่เป็ น severe pre –eclampsia -มักเกิดก่อนอายุครรภ์ 36สัปดาห์-ถ้าเกล็ดเลือดลงน้อยกว่า 100,000/mm3
เกิดภาวะ HELLP syndrome
prothrombin time ( PT ) มากกว่า 16 วินาที
partial thromboplastin time ( PTT ) มากกว่า 38วินาที
fibrinogen น้อยกว่า 285 mg/ml จะเสี่ยงต่อการเกิดภาวะรกลอกตัวก่อนก าหนดและภาวะ DIC ได้มากยิ่งขึ้น
การวินิจฉัย
จากประวัติ อาการและอาการแสดงที่ตรวจพบ BP สูง ≥140/90 mmHg พบเมื่อ GA > 20 wks.การวินิจฉัยทำsupine pressor test หรือ roll over test
ตรวจพบโปรทีนในปัสสาวะตั้งแต่ 1+ ขึ้นไปเมื่อตรวจด้วย dipstick หรือตรวจพบโปรตีน ≥ 300มิลลิกรัมในปัสสาวะ 24ชั่วโมง
ในรายที่อาการรุนแรงตรวจพบเกร็ดเลือดต ่ากว่า 100,000ต่อ ลบ. มม.
ตรวจพบ SGOT และ SGPT สูงกว่าปกติ
ตรวจพบ creatinine ในเลือดสูง
กรณีศึกษา
หญิงตั้งครรภ์ อายุ 39ปี G1P0 GA 36 wks. มาLR ด้วย เจ็บครรภ์คลอด ปวดหัว และมีน ้าเดิน แรกรับv/s T= 37.5 P =90/m R=22/m BP =170/110 mmHg. บวม +1 Urine strip test Al=+3, S= negPV พบCx. Dilate 2 cms. Eff. 50% Station -1 ML Vx. ประเมิน I = 5 นาที D = 40 วินาที FHS = 130 ครั้ง/นาที เด็กดิ้นดี และ on EFM ไว้
ซักประวัติและตรวจร่างกาย
หญิงตั้งครรภ์ อายุ 39ปี G1P0 GA 36 wks
เจ็บครรภ์คลอด ปวดหัว และมีน้ำเดิน
แรกรับv/s T= 37.5 P =90/m R=22/m BP =170/110 mmHg
บวม +1
Urine strip test Al=+3
S= negPV พบCx. Dilate 2 cms. Eff. 50% Station -1 ML Vx. ประเมิน I = 5 นาที D = 40 วินาที
FHS = 130 ครั้ง/นาที
PIH SEVER PRE - ECLAMPSIA
การรักษา
การรักษาที่ดีที่สุดของSevere PIH คือการทำให้สิ้นสุดการตั้งครรภ์เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนรุนแรงต่อมารดาและทารก
บันทึกปริมาณสารน้ำเข้า –ออก
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
วัดความดันโลหิตบ่อยๆอย่างน้อยทุก 4ชั่วโมง
แก้ไขภาวะเลือดข้นโดยให้สารน้ำหยดทางหลอดเลือดดำ
ให้พักผ่อนบนเตียงตลอดเวลา
การให้ยากันชัก
Magnesium sulfate(MgSO4)
โดยก่อนฉีดMgSO4 มีข้อควรระวังดังนี้ ประเมิน ก่อน ให้ยา และ ขณะได้รับยาRR > 14 /m มี DTR = +2 Urine out put > 30 ml/hr.
งดให้ยา หรือ หยุด ยา Mgso4 เมื่อมีอาการอย่างใดอย่างหนึ่ง ตรวจDTR(knee jerk) = 0 RR < 14 /mปัสสาวะออกน้อยกว่า 30 ml/hr หรือ < 100 ml/4hr.
เตรียมยาแก้ฤทธิ์(Antidote)
( Antidote คือ 10% calcium gluconate 10 ml IV push)
Diazepam
ยานี้มีผลเสียต่อทารกคือกดการหายใจ ดังนั้นจึงมักให้เฉพาะในกรณีหลังคลอดแล้วหรือให้เมื่อชักเท่านั้น
การควบคุมความดันโลหิต
ในรายที่มีภาวะความดันโลหิตสูงมาก โดยเฉพาะ diastolic > 110 mmHg อาจพิจารณาให้ยาลดความดันเช่นHydralazine หรือ diazoxide แต่ไม่ควรให้diastolic ต ่ากว่า 90 mmHgเพราะจะท าให้เลือดไปเลี้ยงรกไม่เพียงพอ
การทำให้สิ้นสุดการตั้งครรภ์
คลอดทางช่องคลอด
การคลอดโดยท าผ่าตัดท าคลอดทางหน้าท้อง
การให้สารน ้า
lactate ringer’s solution 60 ml./hr. ไม่ควรเกิน120 ml./hr.
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะปริมาณน้ำในร่างกายลดลง เนื่องจากการสูญเสียพลาสมาและโปรตีนและปริมาณเลือดออกจากหัวใจลดลง
ข้อมสนับสนุน
บวม2+ขึ้นไป โปรตีนในปัสสาวะ2+ DTR 3+ปวดศรีษะมองเห็นภาพซ้อน Hct 50%มีอาการคลื่นไส้อาเจียน เจ็บใต้ลิ้นปีBP 170/110มม.ปรอท
เกณฑ์การประเมิน
1.Hctปกติ (33%-40%)
2.บวมไม่เกิน2+
3.ปัสสาวะออกมากกว่า 30มม/ชั่วโมง
4.โปรตีนในปัสสาวะไม่เกิน2+
5.ความถ่วงจำเพาะของปัสสาวะน้อยกว่า1.040
6.ความดันโลหิต systolic blood pressure เพิ่มน้อย
7.Lung sound Clear
กิจกรรมการพยาบาล
1.ชั่งน้ำหนักทุกวันกรณีที่มีอาการรุนแรง หรือชั่งทุกสัปดาห์ ปกติน้ำหนักมารดาไม่ควรเกิน 1.5 กิโลกรัมต่อเดือน
2.ประเมินความรุนแรงของอาการบวม โดยปกติอาการมีตั้งแต่+1ถึง+2 ซึ่งหมายถึงบวมเล็กน้อย ถ้าบวมมากจะบวม+3ถึง+4
3.บันทึกอาการและอาการแสดงของอาการบวมกำเริบมากขึ้น ได้แก่
อาการเจ็บปวดบริเวณชาย โครงขวา อาการทางสมอง
4.ส่งเสริมให้รับประทานอาหารโปรตีนสูงและอาหารที่มีแคลลอรี่สูง
5.บันทึกเข้า-ออกจากร่างกาย สังเกตสีปัสสาวะ และค่า
ความถ่วงจำเพาะของปัสสาวะเนื่องจากปริมาณปัสสาวะที่ออกน้อย
6.ประเมินเสียงปอดและอัตราการหายใจ หายใจลำบากและพบเสียง
น้ำในปอดแสดงว่ามีภาวะปวดบวมน้ำ
7.บันทึกความดันโลหิตและชีพจร
8.ส่งเสริมให้มารดาได้นอนหลับพักผ่อนอย่างเต็มที่ในท่านอน
9.ดูแลให้ได้รับยาลดความดันโลหิต
วัตถุประสงค์
หญิงตั้งครรภ์ไม่เกิดภาวะช็อค
มีโอกาสเกิดภาระชักใบระยะช่องก่อนคลอดเนื่องจากความดันโลหิต
สูงขณะตั้งครรภ์
ข้อมูลสนับสนุน
ความดันโลหิด 150/100 - 175/119 mmHg
วัดถุประสงค์
เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดภาวะชัก
เกณฑ์การประเมิน
ความดันโลหิตอยู่ระหว่าง 100/70 -130/80 mmHg
ไม่มีอาการนำชัก ปวดศีรษธ ตาพว่ามัว จุกแน่นสิ้นปี
กิจกรรมการพยาบาล
อธิบายให้ผู้คลอดทราบถึงพยาธิสภาพของการนำสู่อาการชักและอันตราย
ที่จะเกิดขึ้นจากอาการชัก
จัดทำให้ผู้คลอดนอนพักในทำตะแดงชัายเพื่อลดอาการกดทับเส้นเลือด
อินพีเรีย เวคานาวา
ประเมินอาการนำชัก ได้แก่ อาการปวดศีรษะ ตาพร่ามัว
ให้ยา 50% MgS04 10 กรัม สังเกตอาการไม่พึ่งประสงค์ เช่น อัตราการหายใจน้อยกว่า 14 ครั้งนาที ปัสสาวะออกน้อยกว่า 30 mI/hr รายงานแพทย์
ประเมินระดับความรู้สึกตัว ทุก 1 ชม. และรายงานแพทย์เมื่อมีอาการ
เปลี่ยนแปลง
จัดสิ่งแวดล้อมที่เชื้อต่อการพักผ่อน ทำกิจกรรมต่างๆบนเตียง
ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ เพื่อประเมินความรุนแรงของโรค
อ้างอิง
ผศ.ดร.บังอร ศุภวิทิตพัฒนา และ ดร.ปิยะพร
ประสิทธิ์วัฒนเสรี (บรรณาธิการ).(2562).การพยาบาลและ
การผดุงครรภ์สตรีที่มีภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อน.คณะ
พยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นวัตกรรม
ชื่อผลงานนวัตกรรม: รวดเร็ว ถูกต้อง ปลอดภัย ด้วย “PIH BOX”
PIH BOX หมายถึงกล่องใส่อุปกรณ์และยากันชักสำหรับมารดาที่มีภาวะ Severe Pre-eclampsia
: ผลงานนี้ท าขึ้นเพื่อช่วยลดระยะเวลาในการเตรียมอุปกรณ์ท าหัตถการและการให้ยากันชักในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะ Severe Pre-eclampsia โดยการจัดทำเป็นกล่อง PIH BOX มีฝาปิด ใบ checklist ,ใบ monitor เฝ้าระวังอาการข้างเคียงจากการให้ยา, มีวิธีการบริหารยาที่ถูกต้องตามมาตรฐาน ผลการดำเนินงานพบว่าสามารถลดระยะเวลาและขั้นตอนในการเตรียมยาได้ ไม่พบอุบัติการณ์บริหารยาผิดพลาด และเจ้าหน้าที่มีความมั่นใจและพึงพอใจต่อการน านวัตกรรมมาใช้
ชื่อและที่อยู่องค์กร : งานห้องคลอด โรงพยาบาลกันตัง