Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ในวัยรุ่น Nursing care for teenage…
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
Nursing care for teenage pregnancy/adolescent pregnancy
การตั้งครรภ์วัยรุ่น คือ การตั้งครรภ์ในสตรีที่มีอายุระหว่าง 10 - 19 ปีหรือน้อยกว่า 20 ปีบริบูรณ์โดยนับถึงวันกำหนดคลอด
สาเหตุและปัจจัย
บุคคล
อายุน้อย
การศึกษาน้อย
ปัญหาและความเครียดของสามี
การใช้สารเสพติด
ครอบครัว
ฐานะยากจน/การว่างาน
ครอบครัวเดี่ยวเกิดได้มากกว่าครอบครัวขยาย
การขัดแย้งในครอบครัว
สังคม
การสนับสนุนทางสังคม
มาตรฐานทางสังคม
ผลกระทบ
หญิงตั้งครรภ์
เกิดการบาดเจ็บ
ด้านจิตใจไม่สนใจตนเอง
แยกตัวจากสังคม
ทารก
การแท้ง
คลอดก่อนกำหนด
DIFU
การพยาบาล
ซักประวัติการถูกทำร้าย
ความกลัว
การบาดเจ็บ
การประเมินระดับการสนับสนุนทางสังคม
การตรวจร่างกาย
LAP
ประเมินความรู้พื้นฐาน
ปัญหาหลังคลอด
ด้านทารก
การคลอดก่อนกำหนดและทารกน้ำหนักตัวน้อย
ทารกที่คลอดก่อนกำหนดอายุครรภ์ 33 สัปดาห์หรือน้ำหนักน้อยกว่า 1,500 กรัม มีภาวะทุพพลภาพ หรืออัตราตายปริกำเนิดเพิ่มขึ้น โดยในประเทศพัฒนาแล้วเด็กกลุ่มนี้จะดูแลใน NICU ซึ่งมีค่าใช้จ่ายมากและมารดาของเด็กกลุ่มนี้จะเผชิญภาวะเครียดและซึมเศร้า หลังจากที่เด็กกลุ่มนี้กลับบ้านก็ยังต้องได้รับการดูแลที่มากกว่าปกติ
การติดเชื้อบาดทะยัก
การติดเชื้อบาดทะยักมักเกิดขึ้นในช่วงคลอดและหลังคลอดเกิดจากการที่ได้รับวัคซีนไม่เพียงพอ ซึ่งสามารถป้องกันได้โดยจัดกระบวนการการคลอดที่สะอาด และให้วัคซีนป้องกันบาดทะยัก
การให้นมบุตร
โดยส่วนมากสตรีวัยรุ่นมีความรู้เรื่องการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ค่อนข้างน้อย ทำให้ทารกกลุ่มนี้ได้รับการเลี้ยงดูด้วยอาหารเสริม ซึ่งเสี่ยงต่อการติดเชื้อและภาวะทุพโภชนาการอันจะทำให้เกิดภาวะทุพพลภาพและเสียชีวิตในทารกได้
ผลกระทบระยะยาว
ทารกที่เกิดจากหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นที่ยากจน มักมีภาวะทางโภชนาการที่ต่ำ ส่งผลต่อพัฒนาการทางด้านจิตสังคม อีกทั้งมารดาในกลุ่มนี้ยังมีปัญหาด้านพฤติกรรมอีกด้วย
มารดาขาดความรู้ในการดูแลตนเองหลังคลอด
ข้อมูลสนับสนุน : มารดาตั้งครรภ์แรกอายุน้อยไม่ต้องการอุ้มหรือให้นมบุตร
วัตถุประสงค์ : เพื่อให้มารดามีความรู้ในการดูแลตนเองหลังคลอดและสามารถนำไปปฏิบัติได้ด้วยตนเอง
เกณฑ์การประเมินผล : รับการตรวจติดตามอย่างสม่ำเสมอสามารถดูแลตนเองหลังคลอดและตอบคำถามเกี่ยวกับการดูแลตนเองได้อย่างน้อย 90%
กิจกรรมทางการพยาบาล
ควรพักผ่อนให้มาก อาจนอนช่วงกลางวันของวัน 1-2 ครั้ง/หลับพร้อมบุตร ไม่ควรยกของหนัก หรือเดินขึ้นบันไดสูง ทำงานบ้านเบาๆ แล้วค่อยเพิ่มขึ้นตามลำดับ โดยไม่หักโหม
ควรมาตรวจหลังคลอดตามนัด 10 วันหลังคลอด เพื่อดูแผลฝีเย็บ และ 6 สัปดาห์หลังคลอดเพื่อประเมินกระบวนการเข้าอู่ มะเร็งปากมดลูก ภายในเชิงกราน และฝีเย็บ ขนาดและตำแหน่งของมดลูก
รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ควรทานเนื้อสัตว์ ไข่ นมสด ผักและผลไม้ ดื่มน้ำให้เพียงพอ เพื่อร่างกายที่แข็งแรงของมารดา และช่วยให้การขับถ่ายดี
สังเกตุอาการและอาการแสดงที่ผิดปกติ เช่น มีไข้ ฝีเย็บบวมแดง หรือมีสีแดงคล้ำ น้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็นมาก และมีเลือดสดออกมามากให้รีบมาพบแพทย์ทันที
การประเมินผล
มารดามีความรู้ความเข้าใจในการสังเกตประเมินอาการและอาการแสดงโดยสามารถตอบคำถามได้อย่างถูกต้องและสามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างเป็นอย่างดี
ด้านมารดา
ผลกระทบระยะยาว
การตั้งครรภ์ในสตีวัยรุ่นไม่ได้มีผลต่อชีวิตการสมรสในอนาคตแต่พบการคลอดบุตรมากกว่าหญิงสมรสทั่วไปโดยเฉพาะวัยรุ่นอายุน้อยจะพบช่วงเวลาระหว่างการตั้งครรภ์แต่ละครั้งสั้นกว่ามักจะพบในกลุ่มที่ระดับการศึกษาต่ำ เศรษฐสถานะต่ำซึ่งการคลอดบุตรในช่วงที่อายุยังไม่พร้อมจะยิ่งทำให้มีปัญหาทางด้านเศรษฐกิจมากขึ้นส่งผลถึงภาวะทางสังคมของบุตรในอนาคตด้วยเช่นกันและหากคู่สมรสมีอายุน้อยด้วยแล้วฐานะของครอบครัวนั้นยิ่งจะยากจนกว่าเดิม
ภาวะโลหิตจาง
เกิดจากการได้รับธาตุเหล็กและโฟเลทไม่เพียงพอ โรคติดเชื้อต่างๆ เช่น วัณโรค โดยเฉพาะผู้ติดเชื้อHIV มาลาเรีย พยาธิปากขอ การเสียเลือด ซึ่งภาวะโลหิตจางนี้ ส่งผลต่อการติดเชื้อหลังคลอดได้มากขึ้น
โภชนาการ
ภาวะทุพโภชนาการ เป็นปัญหาในประเทศกำลังพัฒนา ซึ่งผู้หญิงที่เผชิญภาวะนี้เป็นผลมาจากการเจริญพันธุ์ การเผาผลาญอย่างหนักในช่วงคลอด โดยเฉพาะในหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น จะได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ โดยในช่วงหลังคลอดปัญหาที่พบส่วนใหญ่ ได้แก่ การได้รับพลังงานแคลอรี่ไม่เพียงพอ ขาดไอโอดีน วิตามินเอ ธาตุเหล็กและโฟเลท
การคุมกำเนิด
ยาฉีดคุมกำเนิด
ถุงยางอนามัย
ห่วงอนามัย
แผ่นยาคุมกำเนิดชนิดแปะผิวหนัง
การคุมกำเนิดโดยวิธีธรรมชาติ เช่น การนับวันหาไข่ตก การหลังนอก
ยาเม็ดคุมกำเนิดชนิดฮอร์โมนรวม
ยาเม็ดคุมกำเนิดชนิดฉุกเฉิน
ยาฝังคุมกำเนิด
ครรภ์เป็นพิษ
ภาวะครรภ์เป็นพิษอาจถูกกระตุ้นได้มากในช่วงวันแรกหลังคลอด และพบว่าการชักครึ่งหนึ่ง อาจเกิดหลังจากการคลอด 3 วันไปแล้ว ซึ่งอุบัติการณ์ของภาวะเหล่านี้ ไม่ได้ขึ้นอยู่กับอายุ แต่เนื่องจากสตีวัยรุ่นมักจะตั้งครรภ์เป็นครรภ์แรกจึงมีความเสี่ยงที่จะเกิดภาวะนี้ได้มากขึ้น
ผลกระทบการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
ผลกระทบด้านสตรีตั้งครรภ์
ด้านสุขภาพ
Prolong
PPH
PIH
ภาวะโลหิตจางจากการขาดสารอาหารธาตุเหล็ก โฟเลท B12
ภาวะโลหิตจางเนื่องจากพร่องความรู้ในการรับประทานอาหาร
Mulnutrition
ทารกในครรภ์เสี่ยงต่อการเจริญเติบโตช้าเนื่องจากมารดาพร่องความรู้ในการรับประทานอาหารที่เหมาะสม
การเจริญเติบโตของช่องเชิงกรานยังไม่เต็มที่ทำให้ช่องเชิงกรานแคบไม่เหมาะกับการคลอด
Abortion
ด้านจิตใจ
ไม่สามารถปรับตัวเป็นมารดาได้
ส่งเสริมการเลี้ยงดูบุตร
ความอับอาย ไร้คุณค่า วิตกกังวล
ความสำคัญต่อบุตรไม่ดี
มารดาวิตกกังวลจากการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์
อารมณ์เปลี่ยนแปลงทำให้สัมพันธภาพในครอบครัวไม่ดี
ด้านสังคมและเศรษฐกิจ
ส่งเสริมการวางแผนครอบครัว
ออกจากระบบการเรียนก่อนวัยอันควร
ผลกระทบต่อทารก
ภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด PROM
มีความเสี่ยงที่จะได้ทารกที่ตัวเล็กน้ำหนักน้อย IUGR
ทารกคลอดก่อนกำหนด Preterm
การทำแท้ง Abortion
มีความพิการทางสมอง DFIU
ผลกระทบต่อครอบครัว
เศรษฐกิจ
สัมพันธภาพในครอบครัวในด้านลบ
การไม่ยอมรับการตั้งครรภ์
สาเหตุและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเกิดการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
ปัจจัยสังคมและสิ่งแวดล้อม
การเปลี่ยนแปลงของสังคมและค่านิยม
ความเจริญก้าวหน้าทางเทคนิค
ปัจจัยด้านครอบครัว
ครอบครัวแตกแยก
ภาระหน้าที่ของพ่อแม่ขาดความเอาใจใส่วัยรุ่น มีอิสระมากขึ้น
สัมพันธภาพในครอบครัวไม่ดี
การถูกข่มขืนจากคนในครอบครัวหรือคนใกล้ชิด
ปัจจัยด้านสตรีวัยรุ่น
การจัดการเรียนเพศศึกษาในโรงเรียนไม่จริงจังทำให้วัยรุ่นขาดความรู้และความเข้าใจที่ถูกต้อง
การดื่มสุราหรือการใช้สารเสพติดเป็นปัจจัยส่งเสริมในหมู่เพื่อน
แอลกอฮอล์
ความผิดปกติของระบบประสาทส่วนกลาง
ทารกตายในครรภ์
IUGR
กัญชา
รกลอกตัวก่อนกำหนด
ทารกน้ำหนักตัวน้อย
คลอดก่อนกำหนด
IUGR
คาเฟอีน
คลอดก่อนกำหนด
ทารกตายในครรภ์
การแท้ง
บุหรี่
ทารกน้ำหนักตัวน้อย
IUGR
รกเกาะต่ำ
การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกายและจิตใจเป็นวัยที่มีพัฒนาการทางเพศสมบูรณ์มากขึ้นมีความสนใจอยากรู้อยากลองที่นำไปสู่การมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร
การดูแลสตรีวัยรุ่นตั้งครรภ์
ระยะที่ 1 ระยะตั้งครรภ์
การประเมินการยอมรับการตั้งครรภ์และแนะนำแหล่งช่วยเหลือสนับสนุน
พยาบาลควรให้คำปรึกษาและช่วยแนะนำทางเลือกในการตั้งครรภ์รวมถึงข้อมูลทางเลือกกับวัยรุ่นบางรายที่ไม่พร้อมตั้งครรภ์
พยาบาลควรสร้างสัมพันธภาพระหว่างสตรีตั้งครรภ์ก่อนวัยเพื่อให้เกิดความไว้วางใจ
การให้ความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย
พยาบาลควรให้คำแนะนำแก่สตรีตั้งครรภ์เรื่องการรับประทานอาหารที่ครบถ้วนถูกต้องและเหมาะสมกับการตั้งครรภ์
พยาบาลควรให้คำแนะนำแก่สตรีตั้งครรภ์เรื่องการรับประทานอาหารที่ครบถ้วนถูกต้องและเหมาะสมกับการตั้งครรภ์
พยาบาลควรให้คำแนะนำแก่สตรีตั้งครรภ์ให้เห็นถึงความสำคัญของการมาฝากครรภ์ตามนัด
ระยะที่ 2 ระยะคลอด
ให้คำแนะนำการปฏิบัติตัวเพื่อบรรเทาความเจ็บปวดในระยะคลอด
ดูแลเหมือนสตรีตั้งครรภ์ปกติอาจพบภาวะ CPD : Cephalopelvic disproportion เป็นสาเหตุของการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางสูติกรรม
การคลอดยาวนาน
การคลอดติดขัด
การใช้หัตถการทางสูติในการคลอด
การผ่าคลอด
เพื่อดูแลความก้าวหน้าในการคลอด
ระยะที่ 3 ระยะหลังคลอด
การเฝ้าระวังตกเลือดหลังคลอด
การสังเกตุอาการผิดปกติที่ควรมาโรงพยาบาลทันที
อาการไข้ ปวดมดลูก น้ำคาวปลาเป็นสีแดง ตลอดจนมีกลิ่นเหม็น อักเสบบวมแดง
งดการมีเพศสัมพันธ์อย่างน้อย 6 สัปดาห์
การให้คำแนะนำก่อนกลับบ้าน
การส่งเสริมการเลี้ยงดูด้วยนมมารดา
การส่งเสริมการปรับตัวเข้าสู่บทบาทการเป็นมารดาวัยรุ่นหลังคลอด
แหล่งข้อมูลอ้างอิง
โรงพยายาลรามคำแหง ข้อมูลยาคุมกำเนิดฉุกเฉิน
https://www.ram-hosp.co.th/news_detail/648
สืบค้นเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2565
รองศาสตราจารย์ ดร. เภสัชกรหญิง นงลักษณ์ สุขวาณิชย์ศิลป์.หน่วยคลังข้อมูลยา คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลการใช้ยาในหญิงตั้งครรภ์ สืบค้นจาก
https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/service-knowledge-article-info.php?id=607
เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2565
The Family Planning Association (FPA), the sexual health company. Your guide to long-acting reversible contraception (LARC) (December 2020).
https://www.fpa.org.uk/sites/default/files/pdf/FPA-Long-acting-(LARC)-leaflet-1015.pdf
. Accessed: February 8, 2021.
รองศาสตราจารย์ ดร.เภสัชกรหญิง นงลักษณ์ สุขวาณิชย์ศิลป์. หน่วยคลังข้อมูลยา คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. บทความเผยแพร่สู่ประชาชน ยาคุมกำเนิดชนิดฝัง ที่มา
https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/knowledge/article/547
สืบค้นเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2565
ผศ.ดร.บังอร ศุภวิทิตพัฒนา และ ดร.ปิะพร ประสิทธิวัฒนเสรี (บรรณาธิการ). (2562).การพยาบาลและการผดุงครรภ์สตรีที่มีภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อน. คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ขนิษฐา เมฆกมลและ อารีรัตน์ วิเชียรประภา. (2561) บทบาทพยาบาลในการดูแลมารดาวัยรุ่น.วารสารวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ ปี ที่ 12 ฉบับที่ 2: กรกฎาคม –ธันวาคม 2561
สุนันทา ยังวนิชเศรษฐ วราวคณา ชัชเวช สุรีย์พร กฤษเจริญ เบญญาภา ธิติมาพงษ์. (2562). การพยาบาลมารดา ทารกและการผดุงครรภ์ 2 (เล่ม 1). คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ผศ.บังอร ศุภวิทิตพัฒนา และ ดร.ปิยะพร ประสิทธิ์วัฒนเสรี.(บรรณาธิการ). การพยาบาลและการผดุงครรภ์สตรีที่มีภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อน. คณะพยาบาลศาสตร์. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นวัตกรรมที่นำมาใช้เพื่อช่วยป้องกันและช่วยเหลือให้คำแนะนำ
ตู้แจกถุงยางฟรีในโรงเรียน
สายด่วนสุขภาพจิต 1667
สายด่วน 1323 ปรึกษาปัญหาท้องไม่พร้อม
ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับคลินิกวัยรุ่นในโรงพยาบาลทั่วประเทศ
จัดกิจกรรมหรือโครงการเกี่ยวกับเพศศึกษาจากวิทยากรหรือมีวิดีโอสัมภาษณ์จากประสบการณ์จริงของวัยรุ่นตั้งครรภ์ไม่พร้อมเพื่อสะท้อนให้เห็นถึงปัญหา
ประชาสัมพันธ์โครงการฟังยาคุมกำเนิดฟรีเพียงมีผู้ปกครองให้ความยินยอมสามารถรับบริการในโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขฟรีไม่มีค่าใช้จ่าย
เข้าวินิจฉัยทางการพยาบาล
ปัญหาที่1 ทารกมีน้ำหนักตัวน้อยกว่าเกณฑ์
ข้อมูลสนับสนุน : ทารกแรกคลอดน้ำหนักน้อยกว่า 2500 กรัม
วัตถุประสงค์ : เพื่อให้มารดามีความรู้เกี่ยวกับโภชนาการสำหรับทารกที่มีน้ำหนักตัวน้อยและเพื่อให้มารดาสามารถดูแลทารกที่มีน้ำหนักตัวน้อยนี้ได้
เกณฑ์การประเมินผล : ทารกมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นตามเกณฑ์และไม่เสียชีวิต
กิจกรรมทางการพยาบาล
การประเมินผล : ทารกสามารถมีชีวิตรอดปลอดภัยและมีน้ำหนักตัวตามที่ทารกสามารถมีชีวิตรอดปลอดภัยและมีน้ำหนักตัวตามที่เกณฑ์กำหนดไว้
ดูแลให้ทารกได้รับนมจากมารดาที่เพียงพอและกระตุ้นให้ทารกดูดนมทุก 2-3 ชั่วโมงและติดตามน้ำหนักทารกทุกวันพร้อมประเมินการเปลี่ยนแปลง
ภาวะความเข้มข้นของเลือดสูงเลือดหนืดกว่าปกติเกิดจากทารกบางรายขาดออกซิเจนระหว่างอยู่ในครรภ์ทำให้ร่างกายต้องผลิตเม็ดเลือดมากขึ้นเลือดจึงมีความเข้มข้นเยอะเพื่อนำพาออกซิเจนไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายให้เพียงพอแต่เมื่อคลอดแล้วเมื่อความเข้มข้นของเลือดสูงจะส่งผลให้เกิดภาวะ Hypoglycemiaและทำให้การไหลเวียนของเลือดไม่ดี
ปัญหาที่ 2 สตรีวัยรุ่นพร่องความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์เนื่องจากไม่มีประสบการณ์ในการตั้งครรภ์มาก่อนและไม่มีความพร้อม
ข้อมูลสนับสนุน : ตั้งครรภ์เป็นครรภ์แรก
วัตถุประสงค์ : เพื่อให้สตรีวัยรุ่นตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเอง
กิจกรรมการพยาบาล
การประเมินผล : สตรีวัยรุ่นตั้งครรภ์สามารถอธิบายเกี่ยวกับการดูแลตนเองได้อย่างน้อย 90%
ประเมินสุขภาพและดูแลให้คำแนะนำการตรวจร่างกายและการคำนวณอายุครรภ์เพื่อคัดกรองภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้
ประเมินความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตนและการดูแลตนเองระหว่างตั้งครรภ์แก่สตรีวัยรุ่น
ให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการแก่สตรีวัยรุ่นตั้งครรภ์
แนะนำเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันเพื่อป้องกันการอักเสบติดเชื้อ
แนะนำเรื่องการนอนหลับพักผ่อนควรนอนอย่างน้อยวันละ 8-9 ชั่วโมง
แนะนำให้สตรีวัยรุ่นตั้งครรภ์สังเกตน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม
แนะนำให้สตรีวัยรุ่นตั้งครรภ์นับลูกดิ้นทุกวัน หน่วยนับหลังจากรับประทานอาหารเช้า/กลางวัน/เย็น เป็นเวลา 1 ชั่วโมง ลูกต้องดิ้นอย่างน้อยสามครั้งรวมกัน ทั้งสามมื้อต้องดินไม่น้อยกว่า 10 ครั้งจึงถือว่าเป็นปกติดี
ปัญหาที่ 3 สตีวัยรุ่นหลังคลอดมีความวิตกกังวลกลัวครอบครัวไม่ยอมรับ
ข้อมูลสนับสนุน : สตรีหญิงตั้งครรภ์มีสีหน้าเป็นกังวล
วัตถุประสงค์ : เพื่อลดภาวะวิตกกังวล
เกณฑ์การประเมินผล : สตรีวัยรุ่นตั้งครรภ์มีสีหน้าสดใสความวิตกกังวลลดลงพูดคุยกับครอบครัวมากขึ้น
กิจกรรมทางการพยาบาล
การประเมินผล : สตรีวัยรุ่นตั้งครรภ์มีสีหน้าสดใสความวิตกกังวลลดลงพูดคุยกับครอบครัวมากขึ้น
ใช้คำพูดที่สุภาพชัดเจน เข้าใจง่าย แสดงท่าทีสนใจ และตั้งใจฟัง หลีกเลี่ยงคำพูดที่แสดงถึงความไม่พอใจ
เปิดโอกาสให้มีการซักถามและกล่าวถึงปัญหา
คอยอยู่ใกล้ชิดเพื่อปลอบใจ ให้กำลังใจ และรับฟัง เป็นที่ปรึกษา พร้อมช่วยแก้ไขปัญหา
ให้การพยาบาลด้วยความนุ่มนวลมั่นใจและไม่แสดงความตื่นเต้นมากจนเกินไป
แสดงสีหน้าเห็นใจ เข้าใจ หรือสัมผัสร่างกายด้วยความนุ่มนวลตามความเหมาะสม
บทบาทของพยาบาลในการดูแลสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่น
การปฎิบัติการทางคลินิก
พยาบาลผดุงครรภ์มีบทบาทในการจัดให้บริการฝากครรภ์ซึ่งพยาบาลควรแนะนำให้เข้ารับการฝากครรภ์และเข้ารับการประเมินทางด้านร่างกายและจิตใจของสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นและมีการติดตามดูแลตลอดระยะเวลาในการตั้งครรภ์โดยเน้นการมารับบริการฝากครรภ์อย่างสม่ำเสมอ
บทบาทการสอนและชี้แนะ
มีบทบาทในการสอนให้ความรู้แก่สตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกายและจิตใจในระยะตั้งครรภ์ และการดูแลตนเองตลอดระยะเวลาการตั้งครรภ์ การเตรียมตัวคลอด ตลอดจนการดูแลตนเองในระยะหลังคลอด รวมถึงการคุมกำเนิดเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำ
การประสานความร่วมมือ
การช่วยเหลือหรือสนับสนุนทางอารมณ์และข้อมูลข่าวสารแก่สตรีตั้งครรภ์วัยรุ่น ค้นหาแหล่งสนับสนุนและมีประสบการณ์ความร่วมมือกับครอบครัวและทีมสุขภาพเพื่อให้ความช่วยเหลือสนับสนุนสตีตั้งครรภ์วัยรุ่นสามารถปรับตัวต่อการตั้งครรภ์ที่เกิดขึ้นได้ ในกรณีสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นมีภาวะแทรกซ้อนหรือความผิดปกติที่เกิดจากการตั้งครรภ์พยาบาลผดุงครรภ์ต้องมีการประสานความร่วมมือหรือส่งต่อไปยังบุคลากรวิชาชีพในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องการต่อไป
บทบาทในการให้คำปรึกษา
ให้คำปรึกษาแก่สตรีที่ตั้งครรภ์ในวัยรุ่นซึ่งเป็นบทบาทสำคัญที่จะช่วยให้สตรีที่ตั้งครรภ์ในวัยรุ่นสามารถดูแลตนเองได้อย่างเหมาะสมและแนวทางให้สามารถแก้ปัญหาได้ด้วยตนเองตลอดจนตอบสนองต่อความต้องการของสตีตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเพื่อช่วยให้เกิดกำลังใจสามารถเผชิญกับการตั้งครรภ์ที่เกิดขึ้นได้อย่างเหมาะสมให้โอกาสสตีตั้งครรภ์วัยรุ่นได้ระบายความรู้สึกที่มีต่อการตั้งครรภ์ครั้งนี้ซึ่งจะทำให้เข้าใจปัญหาและความต้องการด้านจิตใจอารมณ์และสังคมของสตีวัยรุ่นได้อย่างดียิ่งขึ้น