Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษาที่ 1, สมาชิก - Coggle Diagram
กรณีศึกษาที่ 1
การวางแผนการพยาบาล
ปัญหาที่ 2
-
การรวบรวมข้อมูล
S : หญิงตั้งครรภ์บอกว่า “สัปดาห์ที่ 33 คิดว่ามีอาการเจ็บท้องเนื่องจากมดลูกบีบตัว เริ่มจับเวลาที่มีตะคริว ยิ่งถี่ขึ้นเรื่อย ๆ หมอให้ยาแก้ปวด เริ่มอาการดีขึ้น แต่อยู่ ๆ ใจสั่น หมอเลยหยุดยา จนผ่านไป 24 ชั่วโมงเลือดเริ่มไหลอีกรอบ”
S : หญิงตั้งครรภ์บอกว่า “สัปดาห์ที่ 31 มีอาการเลือดออกมาก จึงรีบไปโรงพยาบาล พอเลือดหยุดก็กลับบ้านและนอนบนเตียงทั้งวัน”
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินเสียงหัวใจทารก ประเมินทุก ๆ 5,15,30 นาที 1 ชั่วโมง หรือ 4 ชั่วโมง
ประเมินอัตราการดิ้นของทารกในครรภ์โดยใช้เวลาสังเกต ครึ่งชั่วโมง 2-3 ครั้ง ถ้าทารกเคลื่อนไหวน้อยกว่า 3 ครั้ง/ชั่วโมง ถือว่าผิดปกติ
-
-
-
-
ปัญหาที่ 3
-
กิจกรรมการพยาบาล
-
-
ประเมิน อุณหภูมิ ชีพจร หายใจ ทุก 4 ชั่วโมง และประเมินลักษณะของแผลผ่าตัด ประเมินสภาพของน้ำคาวปลา ถ้าผิดปกติรายงานแพทย์เพื่อการรักษา
ดูแลให้สายสวนปัสสาวะอยู่ในระบบปิด บันทึกจำนวนและลักษณะของปัสสาวะ ที่ออกและดูแลให้มารดาถ่ายปัสสาวะภายใน 8 ชั่วโมง หลังถอดสายสวนออก
-
-
-
ปัญหาที่ 1
-
การรวบรวมข้อมูล
S : หญิงตั้งครรภ์บอกว่า “สัปดาห์ที่ 33 คิดว่ามีอาการเจ็บท้องเนื่องจากมดลูกบีบตัว เริ่มจับเวลาที่มีตะคริว ยิ่งถี่ขึ้นเรื่อย ๆ หมอให้ยาแก้ปวด เริ่มอาการดีขึ้น แต่อยู่ ๆ ใจสั่น หมอเลยหยุดยา จนผ่านไป 24 ชั่วโมงเลือดเริ่มไหลอีกรอบ”
S : หญิงตั้งครรภ์บอกว่า “สัปดาห์ที่ 31 มีอาการเลือดออกมาก จึงรีบไปโรงพยาบาล พอเลือดหยุดก็กลับบ้านและนอนบนเตียงทั้งวัน”
กิจกรรมการพยาบาล
-
ช่วยเหลือในการทำกิจวัตรประจำวันตามความเหมาะสม เช่น ช่วยทำความสะอาดร่างกาย การขับถ่ายอุจจาระและปัสสาวะบนเตียงหรือข้างเตียง จนกว่าอาการจะทุเลาลง จึงให้สตรีตั้งครรภ์ลุกเดินเข้าห้องน้ำ และช่วยเหลือตนเอง
-
-
-
-
-
ปัญหาที่4
การรวบรวมข้อมูล
S : หญิงตั้งครรภ์บอกว่า “สามีอยู่ข้างๆ ฉัน เล่าให้ฉันฟังว่าฉันเสียเลือดไปมาก และฉันได้รับยาสลบเพราะมีภาวะรกต่ำ ฉันเสียเลือดไป 5 ลิตรในระหว่างการคลอด”
กิจกรรมการพยาบาล
หลังทารกคลอดให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก Oxytocin และสารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษาของแพทย์รวมทั้งบันทึกปริมาณของสารน้ำที่ผู้ป่วยและปริมาณปัสสาวะ
. ประเมินสัญญาณชีพและจำนวนการสูญเสียโลหิต โดยดูปริมาณของโลหิตในขวดของ เครื่องดูดสุญญากาศ (Suction) พร้อมทั้งจดบันทึกจำนวนเลือดที่ออก รายงานแพทย์ตลอดเมื่อผู้ป่วย มีอาการเปลี่ยนแปลง
ตรวจสอบผลการตรวจเลือด CBC และ Coagulation ก่อนผ่าตัด และการจองเลือดคือ PRC 2 ยูนิต ให้พร้อมใช้ได้อย่างทันท่วงที
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก ถ้าพบมดลูกไม่หดรัดตัว ใช้ผ้าซับเลือด (Swab) ชุบน้ำอุ่น คลุมมดลูกแล้วทำการนวดคลึงมดลูก เพื่อกระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกหลังคลอด เป็นเวลา 5-10นาที
เตรียมเครื่องมือ ไหมเย็บแผลแบบไหมละลาย เบอร์1 เข็มกว้าง 70 มิลลิเมตร ความยาว 90 เซนติเมตร พร้อมใช้ในกรณีให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกและการนวดคลึงมดลูกแล้วไม่ได้ผล
แพทย์อาจใช้การผ่าตัดเย็บมดลูกเพื่อหยุดเลือดแบบ B-lynch sutures เพิ่มเติม
ถ้าการผ่าตัด B-lynch sutures ไม่สามารถรักษาอาการตกเลือดหลังคลอดได้เกิดภาวะตกเลือดรุนแรงและไม่ตอบสนองต่อการรักษาแบบอนุรักษ์อาจต้องรักษาโดยวิธีตัดมดลูกเพื่อหยุดภาวะตกเลือด
รักษาชีวิตผู้ป่วย วางแผนจัดเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ในการผ่าตัดมดลูก จัดกำลังคนให้เพียงพอ ประสานงานภายในและภายนอกห้องผ่าตัด
ให้เลือด PRC ตามแผนการรักษา ถ้ามีการตกเลือดหลังคลอด
- ประเมินสายสวนปัสสาวะ ตรวจสอบการหัก งอ พับของสายสวนปัสสาวะเพื่อให้ปัสสาวะไหลสะดวก
-
ปัญหาที่ 5
การรวบรวมข้อมูล
S : หญิงตั้งครรภ์บอกว่า “การผ่าคลอดจบแล้ว สามีอยู่ข้างๆ ฉัน เล่าให้ฉันฟังว่าฉันเสียเลือดไปมาก และฉันได้รับยาสลบเพราะมีภาวะรกต่ำ ฉันเสียเลือดไป 5 ลิตร หมอขออนุญาตสามี เพื่อตัดมดลูกฉัน เพราะหากไม่ตัดออก ฉันเองอาจเสียชีวิตได้”
การพยาบาล
วัดสัญญาณชีพตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัดคือทุก 15 นาที 1-2 ชั่วโมงแรกหลังผ่าตัดจนสัญญาณชีพคงที่จึงวัดทุก 30 นาทีนาน 1 ชั่วโมง จากนั้นวัดทุก 4 ชั่วโมง ถ้ามีอาการกระสับกระส่าย
ระดับความรู้สึกตัวลดลงเหงื่อออกหรือบ่อยกว่านี้ตามความจำเป็น
ให้สารน้ำและยา และ PRC1 ยูนิต ทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษาพร้อมทั้งบันทึก จำนวนน้ำที่เข้าและออกจากร่างกาย เฝ้าระวังอาการข้างเคียงของการให้ยาและ PRC
-
ตรวจดูการหดรัดตัวของมดลูกและระดับยอดมดลูก ปริมาณและลักษณะเลือดที่ออก ทางช่องคลอด บันทึกปริมาณเลือดที่ออกทุก 15นาที
-
-
ถ้าพบอาการช็อกได้แก่เยื่อบุตาซีด ผิวหนังซีด เย็นกระสับกระส่าย หมดสติม่านตาขยาย ชีพจร มากกว่า 100 ครั้งต่อนาทีความดันโลหิตต่ำกว่า 90/60 มิลลิเมตรปรอทจัดเตรียมอุปกรณ์
และทีมแพทย์พยาบาลในการช่วยเหลือผู้ป่วยในภาวะฉุกเฉิน รวมทั้งเตรียมห้องผ่าตัดกรณีที่ต้องทำผ่าตัดเพิ่มถ้าเลือดไม่หยุดไหล
ดูแลความสุขสบายทั่ว ๆ ไป ให้ความอบอุ่นและป้องกันการสูญเสียความร้อนของร่างกาย เมื่อผู้ป่วยอาการคงที่ไม่มีภาวะช็อก ปริมาณเลือดออกทางช่องคลอดไม่เปลี่ยนแปลง ส่งกลับหอผู้ป่วย
รวมทั้งส่งต่อการผ่าตัดและอาการผู้ป่วยให้ตึกทราบเพื่อจะได้ดูแลผู้ป่วยต่อเนื่อง
-
-
-
-
-