Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาและทารกที่มีความผิดปกติของปัจจัยการคลอด…
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาและทารกที่มีความผิดปกติของปัจจัยการคลอด
ปัจจัยการคลอดผิดปกติ
กำลังการคลอด (Power)
ช่องทางคลอด (Passage)
สิ่งที่ผ่านทางช่องคลอด (Passenger)
สภาวะร่างกาย (Physiological condition)
สภาวะจิตใจ (Psychological condition)
ท่าของผู้คลอด (Position)
ความผิดปกติของกำลังคลอด
ความผิดปกติของแรงจากการหดรัดตัวของมดลูก
มดลูกหดรัดตัวมากกว่าปกติ
มดลูกหดรัดตัวไม่คลาย
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
การคลอดติดขัดจากทารกในครรภ์อยู่ในท่าผิดปกติ
การได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวในอัตราที่เร็วเกิน
ภาวะรกลอกตัวก่อนกําหนด
การวินิจฉัย
ผู้คลอดรู้สึกเจ็บครรภ์มาก
มดลูกหดรัดตัวนานกว่า ๙๐ วินาที และระยะห่าง
น้อยกว่า ๒ นาที
ผลกระทบต่อมารดาและทารก
มารดาเสี่ยงต่อภาวะมดลูกแตก อ่อนเพลียส่วนทารกอาจมีภาวะขาดออกซิเจน
แนวทางการรักษา
รายที่ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกมากเกินไป ควรปรับลด
หรือ หยุดการให้ยา
มดลูกหดรัดตัวไม่ประสานกัน
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
มักพบในผู้คลอดที่มีความกลัว กังวล
ตั้งครรภ์เมื่ออายุมาก
ทารกท่าผิดปกติ
ศีรษะทารกและช่องเชิงกรานไม่ได้
สัดส่วน
การวินิจฉัย
กล้ามเนื้อมดลูกมีการหดรัดตัวแรงบริเวณส่วนกลาง ล่างมากกว่าส่วนบน
ผู้คลอดเจ็บครรภ์ตลอดเวลา
ไม่มีความก้าวหน้าของการคลอด
แนวทางการรักษา
รักษาตามสาเหตุ โดยถ้าผู้คลอดมีความกลัวหรือวิตกกังวลสูง ควรดูแล
ให้ยาระงับปวดเพื่อให้ผู้คลอดบรรเทาปวดและได้พักผ่อน
ผลกระทบต่อมารดาและทารก
มารดาเจ็บครรภ์มากกว่าปกติ
การคลอดล่าช้าส่วนทารกอาจมีภาวะขาดออกซิเจน
มดลูกหดรัดตัวเป็นวงแหวน
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
ส่วนใหญ่พบในรายที่มีภาวะน้ําคร่ําน้อย
ได้รับยากระตุ้นการเจ็บครรภ์คลอดมากเกินไป
การวินิจฉัย
มดลูกหดรัดตัวแรงไม่สมํ่าเสมอ
ผู้คลอดเจ็บครรภ์
ผลกระทบต่อมารดาและทารก
ผู้คลอดมีเจ็บครรภ์มากกว่าปกติ
ทารกอาจมีภาวะขาดออกซิเจน
แนวทางการรักษา
ระยะรอคลอดให้ยาระงับปวด
ระยะคลอดให้ยาสลบ
ระยะรกควรทำหัตถการล้วงรก
มดลูกหดรัดตัวน้อยกว่าปกติ
สาเหตุ
กล้ามเนื้อมดลูกมีการยืดขยายมากกว่าปกติ เช่น ครรภ์แฝด ครรภ์ ทารกตัวโต
ส่วนนําไม่กระชับกับช่องเชิงกราน เช่น ภาวะผิดสัดส่วนระหว่างขนาดของศีรษะทารกกับช่องเชิงกรานมารดา ทารกตัวเล็ก
การวินิจฉัย
แรงดันในมดลูกเฉลี่ยน้อยกว่า ๒๕ มิลลิเมตรปรอท จะตรวจพบความนาน (duration) น้อยกว่า ๔๐ วินาที ระยะห่าง (interval) มากกว่า ๓ นาที ความถี่ (frequency) มีการหดรัดตัวน้อยกว่า ๓ ครั้งใน ๑๐ นาที ความแรง (intensity) น้อยถึงปานกลาง
ผลกระทบ
มารดา
การคลอดยาวนาน มีภาวะขาดนํ้า ตกเลือดและติดเชื้อหลังคลอด
ทารก
อาจเกิดภาวะขาดออกซิเจนจากการคลอดยาวนาน เกิดอันตรายจากการช่วยคลอดด้วยสูติศาสตร์หัตถการ ติดเชื้อและเสียชีวิตได้
แนวทางการรักษา
ให้สารนํ้าเพื่อแก้ไขภาวะขาดน้ํา ให้ยาระงับปวด ประเมินให้แน่ชัดว่าไม่มีภาวะผิดสัดส่วนระหว่างขนาดของศีรษะทารกกับช่องเชิงกราน เจาะถุงน้ําครํ่าในรายที่ถุงน้ําครํ่ายังไม่แตก พิจารณาให้ยา oxytocin ดูแลไม่ให้กระเพาะปัสสาวะเต็ม ให้กําลังใจ พิจารณาการคลอดด้วยวิธีที่เหมาะสม และเฝ้าระวังการตกเลือดหลังคลอด
การพยาบาล
1.อธิบายให้ผู้คลอดเข้าใจเกี่ยวกับการคลอด แผนการรักษา การปฏิบัติตัวพร้อมเปิด โอกาสให้ซักถามข้อสงสัยและระบายความรู้สึก
2.รายที่ถุงนํ้าคร่ำยังไม่แตก และส่วนนําลงช่องเชิงกรานแล้วกระตุ้นให้ผู้คลอดลุกเดินนอนในท่าศีรษะสูง เพื่อช่วยให้มดลูกหดรัดตัวดีขึ้น
ดูแลให้ผู้คลอดได้รับสารนํ้าและอาหาร
ดูแลให้กระเพาะปัสสาวะว่างโดยกระตุ้นให้ถ่ายปัสสาวะทุก ๒-๔ ชั่วโมง
5.ดูแลการเจาะถุงนํ้าเพื่อกระตุ้นให้มดลูกหดรัดตัวและติดตามการหดรัดตัวของมดลูก
6.ดูแลให้ได้รับยา
กระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกและประเมินภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยา :
7.ติดตามและประเมินเสียงหัวใจทารกหากพบผิดปกติจัดให้นอนตะแคงซ้ายให้ออกซิเจน และรายงานแพทย์
8.ตรวจภายในเพื่อประเมินความก้าวหน้าของการคลอดทุก ๒-๔ ชั่วโมง
9.เตรียมผู้คลอดให้พร้อมสําหรับการช่วยคลอดการช่วยคลอดด้วยสูติศาสตร์หัตถการ หรือการผ่าตัด คลอดทางหน้าท้องในกรณีฉุกเฉิน
หลังคลอดเน้นเรื่องการเฝ้าระวังและป้องกันภาวะตกเลือด
ความผิดปกติของแรงเบ่ง
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
การเบ่งไม่ถูกวิธี
ท่าในการเบ่งคลอดไม่เหมาะสม
ได้รับยาระงับการปวดมากเกินไป
ได้รับยาสลบ
เหนื่อยล้า อ่อนเพลียจากการเจ็บครรภ์คลอดยาวนาน
พักผ่อนหรือได้รับสารน้ำ สารอาหารไม่เพียงพอ
มีพยาธิสภาพอหรือโรคประจำตัว เช่น โรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง ซีด ภาวะเกล็ดเลือดต่ำ
การวินิจฉัย
ผู้คลอดเบ่งไม่ถูกวิธี
เช่น
เบ่งสั้น
เบ่งนานเกินไป
เบ่งแล้วหน้าแดง
เบ่งออกเสียง
ท่าเบ่งไม่เหมาะสม
ผลกระทบต่อมารดาและทารก
ระยะที่ ๒ ของการคลอดยาวนาน
มารดา
ผู้คลอดอ่อนเพลียหมดแรง เกิดความกลัวและวิตกกังวล
ทารก
อาจมีภาวะขาดออกซิเจนจากการคลอด ยาวนาน
แนวทางการรักษา
ให้แก้ไขตามสาเหตุ
ได้เเก่
แนะนำการเบ่งที่ถูกวิธี
เบ่งคลอดในท่าที่เหมาะสม
ให้สารละลายทางหลอดเลือดดำเพื่อป้องกันภาวะขาดน้ำ
ช่วยคลอดโดยใช้สูติศาสตร์หัตถการ
การพยาบาลผู้คลอดที่มีเเรงเบ่งน้อย
ระยะรอคลอดแนะนําการบรรเทาความเจ็บปวดโดยไม่ใช้ยา
ถ้าปากมดลูกยังเปิดไม่หมดไม่ควรให้ผู้คลอดเบ่งคลอด หากผู้คลอดรู้สึกอยากเบ่งควรให้ผู้คลอดหายใจตามระยะเพื่อผ่อนคลายความเจ็บปวด
3.ดูแลให้ได้รับสารน้ำและอาหารรวมทั้งออกซิเจนอย่างเพียงพอ
4.ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกตามระยะคลอด
5.ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด และเสียงหัวใจของทารกในครรภ์เป็นระยะหากพบความผิดปกติรายงานแพทย์ทันที
6.ดูแลและส่งเสริมให้ผู้คลอดอยู่ในท่าที่เหมาะสมสําหรับการคลอด
ระยะเบ่งคลอดสอนให้ผู้คลอดเบ่งคลอดอย่างถูกวิธีพร้อมให้คําชมเชยเมื่อผู้คลอดเบ่งถูกวิธีและอธิบายข้อบกพร่องให้ผู้คลอดทราบหากเบ่งไม่ถูกวิธี
รายที่มีข้อห้ามในการเบ่งเตรียมผู้คลอดและช่วยแพทย์ทําสูติศาสตร์หัตถการ
ความผิดปกติของช่องทางคลอด
ช่องเชิงกรานแคบ : เชิงกรานเป็นส่วนที่แข็งและยืดขยายไม่ได้ หากแคบเกินไปอาจเป็นสาเหตุของการคลอดยาก
ทางเข้าเชิงกรานแคบ (pelvic inlet contraction) : A-P diameter < 10 cms , transverse diameter < 12 cms
การประเมิน : ทารกไม่มี engagement หรือเมื่อดันที่ยอดมดลูก ศีรษะทารกไม่มีการเคลื่อนต่ำลง (descent)
การดูแล : ผู้คลอดที่ผ่านการคลอดหลายครั้ง เฝ้าระวังมดลูกแตก
หากพิจารณาแล้วว่า CPD, การคลอดไม่ก้าวหน้า หรือทารกมีภาวะ fetal distress ควรผ่าตัดคลอด
ส่วนกลางเชิงกรานแคบ (midpelvic contraction) : interspinous diameter < 9 cms (ค่าปกติ 10.5 เซนติเมตร)
การประเมิน : คลำพบ ischial spine ยื่นนูน, ไม่เกิดการหมุนของศีรษะทารก (internal rotation), ตรวจพบ sagittal suture อยู่ในแนวขวาง
การดูแล : หากแคบไม่มากพิจารณาให้คลอดเอง หลีกเลี่ยงการให้ยาเร่งคลอด และพิจารณาช่วยคลอดโดยใช้ V/E หากมีภาวะ CPD ควร C-S
ทางออกเชิงกรานแคบ (pelvic outlet contraction) : intertuberous diameter ≤ 8 cms, subpubic angle < 85 องศา
การประเมิน : เมื่อผู้คลอดหยุดเบ่ง ศีรษะทารกจะถอยกลับ
การดูแล : ตัดแผลฝีเย็บให้กว้างขึ้น เพื่อลดการฉีกขาดของฝีเย็บ
เชิงกรานผิดปกติทุกส่วน (general pelvic)
เกิดการคลอดล่าช้า
ส่วนนำไม่เคลื่อนผ่านช่องเชิงกราน
ส่วนนำลอยอยู่เหนือช่องเชิงกรานทำให้มดลูกส่วนล่างยืดขยายมากกว่าปกติจนบางเกิดเป็นรอยคอด
พิจารณาผ่าตัดคลอด (C/S)
2.ช่องทางคลอดอ่อนผิดปกติ (abnormal soft passages)ได้แก่ ปากช่องคลอดและฝีเย็บ ช่องคลอด และปากมดลูก รวมไปถึงความผิดปกติของอวัยวะอื่น ๆ ในระบบอวัยวะสืบพันธุ์
การตีบแคบของปากช่องคลอด ฝีเย็บแข็งตึง
ช่องคลอดแคบหรือตีบ มีพังผืดในช่องคลอด
ปากมดลูกบวมในรายที่เบ่งก่อนปากมดลูกเปิดหมด
มดลูกหย่อน มดลูกควํ่าหลัง (retroflexion) และ มดลูกควํ่าหน้า (anteflexion)
รังไข่ ถ้าก้อนเนื้องอกนั้นลงมาอยู่ในอุ้งเชิงกราน อาจทำให้เกิดการคลอดติดขัด
การพยาบาลผู้คลอดที่มีช่องทางคลอดอ่อนผิดปกติ
ประเมินและติดตามความก้าวหน้าของการคลอด
ให้การพยาบาลเพื่อส่งเสริมความก้าวหน้าของการคลอด
รายที่มดลูกคว่ำหน้าส่วนนําไม่เคลื่อนลงช่องเชิงกราน แนะนําให้ใช้ผ้าพันหน้าท้องเพื่อช่วยประคองมดลูกให้กลับสู่ตําแหน่งปกติ
รายที่ปากมดลูกบวม แนะนําให้นอนตะแคง เพื่อลดการกดทับของศีรษะกับปากมดลูก
เตรียมผู้คลอดให้พร้อมสําหรับการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
6.หลังคลอดให้การพยาบาลเพื่อป้องกันการตกเลือด
ความผิดปกติของทารกในครรภ์
ความผิดปกติของส่วนนำทารก
ท่ารกท่าก้น (Breech presentation)
แบ่งตามลักษณะการงอของขา และสะโพกของทารก
Frank Breech
ข้อสะโพกงอ ขาแนบไปกับลำตัวของทารก
Complete Breech
ท่านั่งขัดสมาธิ
Incomplete Breech
ส่วนของขาของทารกอยู่ต่ำกว่าก้น
Single footing breech
Double footing breech
การวินิจฉัย
ตรวจทางหน้าท้อง
คลำพบศีรษะทารกกลม เรียบ แข็ง มี Ballottement
ฟัง Fetal heart sound ได้เหนือตำแหน่งสะดือ
PV
คลำพบกระดูก Sacrum ช่องก้น รูทวรหนัก เท้า หรือมือของทารก
อาจพบขี้เทาจากการ PV
Ultrasound
เป็นการยืนยันท่าของทารก
สาเหตุ
ด้านมารดา
การคลอดก่อนกำหนด
มีประวัติการคลอดทารกท่าก้น
มดลูกหย่อนในรายที่ผ่านการคลอดบุตรมาหลายครั้ง
ครรภ์แฝด
ครรภ์แฝดน้ำ
ภาวะน้ำคร่ำน้อย
CPD
ด้านทารก
ความผดปกติของรูปร่างทารก
ความผิดปกติของระบบประสาท
ทารกหัวบาตร
IUGR
ผลกระทบ
ผลกระทบต่อมารดา
PROM
การคลอดยาก
การคลอดยาวนาน
ผลกระทบต่อทารก
Low birght weight
อันตรายจากการช่วยคลอดโดยใช้สูติศาสตร์หัตถการ
Fetal distress จากการคลอดยาวนาน
เสี่ยงต่อการเกิด Prolapsed cord
แนวทางการรักษา
ก่อน GA < 32 Week มีฝากครรภ์ตามนัด ติดตามดูการเปลี่ยนท่าของทารก
GA > 32 Week Ultrasound เพื่อยืนยันท่า
เลือกวิธีการช่วยคลอดที่เหมาะสม
การพยาบาล
ถ้าถุงน้ำยังไม่แตก Bed resh งดการสวนอุจจาระและการเจาะน้ำคร่ำ
ประเมิน Uterine contraction และ Fetal heart sound
ถ้าถุงน้ำแตกแล้ว ประเมิน FHS
NPO
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
ความผิดปกติเกี่ยวกับท่าทารก
ท่าท้ายทอยอยู่ด้านหลัง
การพยาบาล
ประเมินและวินิจฉัยท่าของทารก
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอดเป็นระยะ ๆ
ให้การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการหดรัดตัวของมดลูก
ประเมินเสียงหัวใจของทารกอย่างต่อเนื่อง
จัดท่าที่ช่วยส่งเสริมการหมุนของศีรษะทารก
แนะนำเทคนิคการบรรเทาปวด
ดูแลงดน้ำงดอาหาร
ผลกระทบ
ด้านมารดา
การคลอดยาวนาน
มีอาการเจ็บครรภ์มากโดยเฉพาะบริเวณหลังและเอว
ปากมดลูกบวมและเปิดขยายช้า
มีการฉีกขาดของช่องคลอดมากกว่าปกติ
เสี่ยงต่อการตกเลือดหลังคลอด
ด้านทารก
อาจมีภาวะขาดออกซิเจน
ศีรษะมี caput succedaneum
เกิด molding มาก
อาจมีเลือดออกในสมอง
สาเหตุ
เกิดจากเชิงกรานที่มีลักษณะ anthropoid, android หรือ gynecoid ที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางในแนวขวางสั้นกว่าปกติ ทารกตัวโต
การวินิจฉัย
ตรวจทางหน้าท้อง
คลำหลังทารกาได้ค่อนไปทางสีข้างมารดา
แขนขาอยู่บริเวณกลางท้อง
ฟังเสียงหัวใจทารก
ค่อนไปทางสีข้างของมารดาหรือบริเวณกลางหน้าท้อง
PV
ขม่อมหลังอยู่ทางด้านซ้าย ขวา หรือด้านหลัง
รอยต่อแสกกลางอยู่ในแนวเฉียงขวา
ปลายเส้นผ่าศูนย์กลางชี้ลงต้นขาขวาของผู้คลอด
ความผิดปกติเกี่ยวกับทรงของทารก
Bregma presentation
ตรวจทางหน้าท้อง
คลำพบท้ายทอยและคางของทารก
PV
พบรอยต่อกระดูกหน้าผาก
ขม่อมหน้า
กระดูกเบ้าตา
ดั้งจมูก
Brow presentation
PV
พบรูปาก ขอบกระดูกเบ้าตา จมูก คาง และกระดูกโหนกแก้ม
ตรวจทางหน้าท้อง
พบ small part ได้ง่าย
คลำศรีษะได้ทางเดียวกับหลัง
ฟังเสียงหัวใจได้ชัดเจนด้าน small part
Face presentation
ตรวจทางหน้าท้อง
คลำได้ส่วนนูนของศีรษะทารกอยู่สูงไปทางศีรษะมารดาและอยู่ด้านเดียวกับหลัง
PV
คลำขม่อมหน้าอยู่ตรงกลาง
คลำ sagittal suture ได้
คลำขม่อมหลังไม่ได้
สาเหตุ
ผนังหน้าท้องหย่อน กระดูกเชิงกรานแคบ ครรภ์แฝดน้ํา ทารกตัวโต ทารกไม่มีเนื้อสมอง (anencephaly) มีเนื้องอกบริเวณคอ หรือที่ต่อมไทรอยด์ และกล้ามเนื้อต้นคอสั้น หรือสายสะดือพันคอ
ผลกระทบ
การบาดเจ็บหรือฉีกขาดของช่องทางคลอด การคลอดยาวนาน และอัตราการตายปริกําเนิดสูงขึ้น
แนวทางการรักษา
ตรวจว่ามีช่องเชิงกรานแคบร่วมด้วยหรือไม่ ถ้าทารกขนาดปกติ ช่องเชิงกรานไม่แคบ ควรให้คลอดเองทางช่องคลอด
ติดตามเสียง หัวใจทารก อย่างใกล้ชิดต่อเนื่อง
ถ้าการคลอดไม่ก้าวหน้า ควรพิจารณาผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
การพยาบาล
ดูแลให้นอนพักบนเตียงเพื่อป้องกันถุงน้ำแตกก่อนที่ส่วนนำเคลื่อนลงมากระชับกับช่องคลอด
หากแพทย์พิจารณาให้คลอดทางช่องคลอด ติดตามและประเมินความก้าวหน้าของการคลอด ส่งเสริม ความก้าวหน้าของการคลอด รวมทั้งประเมินเสียงหัวใจของทารกอย่างต่อเนื่อง
เตรียมผู้คลอดให้พร้อมสําหรับช่วยคลอดด้วยสูติศาสตร์หัตถการ
หลังคลอดการพยาบาลเพื่อป้องกันการตกเลือดเช่นเดียวกับรายปกติ
ทารกในครรภ์มีการเจริญเติบโตผิดปกติ
ทารกตัวโต (Macrosomia)
การประเมิน
ทารกน้ำหนักตัวมากกว่า 4,000 g
ตรวจร่างกายพบน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นมากกว่าอายุครรภ์ปกติ
สาเหตุ
GDM
Postterm
มารดาตัวโต
ทารกมีภาวะ Erythroblastosis
มารดามีประวัติคลอดทารกตัวโตมาก่อน
แนวทางการรักษา
การผ่าคลอดทางหน้าท้อง
ทารกหัวบาตร (Htdrocephalus)
สาเหตุ
การสร้างน้ำ CSF มากผิดปกติ
มีการอุดกั้นของทางผ่านน้ำ CSF
ความผิดปกติของการดูดซึมน้ำ CSF
การผิดรูปของระบบประสาททารกแต่กำเนิด
การประเมิน
ตรวจทางหน้าท้อง
การตวจทางหน้าท้องพบศีรษะของทารกใหญ่กว่าปกติ ไม่ลงสู่ช่องเชิงกราน
การตรวจภายใน
กะโหลกศีรษะทารกบาง และนุ่มกว่าปกติ
แนวทางการรักษา
กรณีส่วนนำเป็นศีรษะ
.ใช้ Smellie scissor เจาะไขสันหลังทะลุขม่อมทารก แล้วดูดน้ำไขสันหลังออกมาให้มากที่สุด เพื่อลดขนาดศีรษะทารกให้คลอดทางช่องคลอดได้
กรณีส่วนนำเป็นก้น
ใช้ Metal catheter เจาะผ่านช่องไขสันหลังและดูดน้ำไขสันหลังออกให้มากที่สุด เพื่อลดขนาดของทารกให้คลอดทางช่องคลอดได้
ทารกไม่มีเนื้อสมอง หรือไม่มีกะโหลกศีรษะ (Anencephaly)
สาเหตุ
ความผิดปกติทางพันธุกรรม
มารดาได้รับสารบางอย่าง
ติดเชื้อขณะตั้งครรภ์
การวินิจฉัย
ตรวจภายในหรือตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงจะไม่พบกะโหลกและเนื้อสมองส่วนที่อยู่เหนือระดับเบ้าตาขึ้นไป
การรักษา
ใช้คีมจับที่ศีรษะทารก แล้วผูกด้วยน้ำหนักจนปากมดลูกเปิดหมด ทารกจะคลอดออกมาได้
ใช้สูติสูติศาสตร์หัตถการทำลายเด็กในการช่วยคลอด
ทารกท้องขนาดใหญ่
สาเหตุ
มีน้ำในช่องท้อง (Ascites)
กระเพาะปัสสาวะโป่งตึงจากความพิการของท่อปัสสาวะ
ทารกมีภาวะบวมน้ำ
เนื้องอกที่ไต หรือตับ
การประเมิน
Ultrasound
แนวทางการรักษา
ก่อนคลอด
พิจารณาผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
การคลอดก้าวหน้า
ใช้เข็มเจาะผ่านหน้าท้องมารดาดูดน้ำในช่องท้องทารก
ผลกระทบ
ผลกระทบต่อมารดา
การบาดเจ็บของช่องทางคลอด
การคลอดยาวนาน
มดลูกแตก
การตกเลือด
การติดเชื้อหลังคลอด
ผลกระทบต่อทารก
อันตราจากการคลอดยาก
การใช้สูติศาสตร์หัตถการ
การคลอดไหล่ยาก(Shoulder dystocia)
หมายถึง การติดแน่นของไหล่กับกระดูกหัวหน่าวภายหลังจากที่ศีรษะทารกคลอดแล้ว และไม่สามารถทำคลอดไหล่ได้โดยการดึงศีรษะทารกลงล่างอย่างนุ่มนวลตามวิธีปกติ ระยะเวลาที่ใช้คลอดศีรษะจนถึงลำตัวถ้านานกว่า 60 วินาที
สาเหตุ:ไม่ทราบแน่ชัด
การวินิจฉัย:มักจะไม่มีการวินิจฉัยก่อนคลอดเพราะไม่สามารถคาดคะเนล่วงหน้าได้
ผลต่อมารดา ได้แก่ กระดูกหัวหน่าวแยก มดลูกแตก มีการฉีกขาดของปากมดลูกช่องคลอดและฝีเย็บ มดลูกหดรัดตัวไม่ดีตกเลือดและติดเชื้อหลังคลอด
ผลต่อทารก ได้แก่ กระดูกไหปลาร้าหัก กระดูกต้นแขนหัก กล้ามเนื้อบริเวณคอฉีกขาด ทารกขาดออกซิเจนและการเสียชีวิตได้
วิธีช่วยคลอดไหล่ยาก
Suprapubic pressure
วิธี McRobert maneuver
วิธี Woods corkscrew maneuver
วิธี Rubin’s maneuver
วิธี All-fours maneuvers หรือ Gaskin maneuver
การคลอดไหล่หลัง (Delivery of posterior shoulder)
การพยาบาลผู้คลอดที่มีภาวะการคลอดไหล่ยาก
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนและสารละลายทางหลอดเลือดดำอย่างเพียงพอ
ถ้ามีปัสสาวะคั่งสวนออกให้หมด
ให้ยาระงับปวดที่เหมาะสมและเพียงพอ
ตัดเย็บใน แนวเฉียงอย่างลึกให้เพียงพอ (deep mediolateral episiotomy
5.ประเมินเสียงหัวใจทารกอย่างต่อเนื่อง
เตรียมเครื่องช่วยฟื้นคืนชีพของทารกให้พร้อมใช้และรายงานกุมารแพทย์
ติดตามผลการตรวจร่างกายทารกให้การช่วยเหลืออย่างรวดเร็วและส่ง ต่อทารกเพื่อให้ได้รับการดูแลรักษาอย่างเหมาะสมต่อไป
เฝ้าระวังและสังเกตอาการแสดงภาวะมดลูกแตกเช่นมดลูกหดรัดตัวไม่คลายกดเจ็บที่หน้าท้องอย่างรุนแรงตรวจพบ bandl's ring