Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 บทบาทของการพยาบาลในการสร้างเสริม ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจิต -…
บทที่ 9 บทบาทของการพยาบาลในการสร้างเสริม
ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจิต
ระบบและการดูแลอย่างต่อเนื่องด้านสุขภาพจิตและจิตเวช
1.1 หลักการดูแลต่อเนื่องด้านสุขภาพจิตและจิตเวช การดูแลต่อเนื่อง (Continuum Care) เป็นการบริการที่จะให้กับผู้ ป่วย ภายหลังออกจาก
โรงพยาบาล ผู้ป่วยจิตเวชรุนแรงและเรื้อรัง เป็นผู้ ป่วยกลุ่มที่ต้องการการดูแลต่อเนื่องระยะยาว แบ่งการดูแลเป็น 3 ระยะ
2.ระยะควบคุมอาการให้คงที่ (Stabilization Phase)
3.ระยะอาการคงที่ ( Stable Phase)
1.ระยะเฉียบพลัน (Acute Phase)
โดยมีหลักการบำบัดดูแลผู้ป่วยจิตเวชอย่างต่อเนื่อง ดัง
4) การวางแผนการดูแลเป็นวงจรต่อเนื่อง ทั้งแผนกผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยใน และบริการใน
ชุมชน
5) การประสานความร่วมมือ และติดต่อสื่อสารระหว่างหน่วยบริการสุขภาพ และ
หน่วยงานทางสังคมที่เกี่ยวข้องในการให้บริการ
3) การให้บริการที่เอื้ ออำนวยและยื ดหยุ่นตามปัญหาและความต้องการของผู้ป่วย
6) การจัดระบบการส่งต่อผู้ป่วย และส่งต่อข้อมูล ระหว่างสถานบริการเครือข่ ายที่เป็น
รูปธรรมอย่างชัดเจน เพื่อการส่งต่อที่ราบรื่นและรวดเร็ว
7) การสามารถเข้าถึงแหล่งบริการสุขภาพ แหล่งสนับสนุนทางสังคม ได้อย่างเหมาะสม
สอดคล้องกับปัญหาและความต้องการของผู้ ป่วย
8) เป็นบริการที่คุ้ มทุน มีประสิทธิภาพ ผู้ ป่วยพึงพอใจกับบริการที่ได้รับ
2) การให้บริการที่ผสมผสานทั้งการบำบัด ฟื้นฟูสภาพ และการสนับสนุน
ประคับประคองทางสังคม
1) การบำบัดรักษาด้วยยาอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง
1.2 กระบวนการดูแลต่อเนื่องด้านสุขภาพจิตและจิตเวช
1.2.1 การบำบัดในโรงพยาบาล (Hospital Based Care
1 ระยะเฉียบพลัน ( Acute phase
เป้าหมายของการบำบัดระยะนี้ เพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วย เป็ นการควบคุม พฤติกรรมผู้ป่วยไม่ให้เป็นอันตรายต่อตนเอง ผู้อื่น และทรัพย์สิน ทำให้ระดับความรุนแรงของอาการทาง
จิตลดลง
การดูแลในระยะนี้
1.1 การบำบัดรักษาด้วยยา ( Pharmacological Treatment)
1.2 การบำบัดรักษาด้วยไฟฟ้า (Electroconvulsive Therapy)
1.3 จิตสังคมบำบัด ( Psychosocial Treatment)
2 ระยะควบคุมอาการให้คงที่ ( Stabilization Phase or Continuation Phase
สาเหตุหรือปัจจัยกระตุ้น
2.1 การขาดยา ขาดการรักษาที่ต่อเนื่อง
2.2 ภาวะเครียดเรื้อรัง หรือรุนแรง
2.3 มีการใช้สุรา สารเสพติด
1.2.2 การส่งต่อผู้ป่วยเพื่อรับการบำบัดต่อเนื่อง (Continuum Care
การบำบัดดูแลเมื่อผู้ป่วย
อาการสงบในระยะนี้
2.1 การสร้างเสริมแรงจูงใจและ ทักษะในการบริหารจัดการ เพื่อปฏิบัติตามแผนการ รักษาอย่างต่อเนื่อง
2.2 การส่งเสริมสุขภาพจิตของผู้ป่วยและครอบครัว
2.3 การสร้างแรงจูงใจในการฟื้นฟูสภาพ
2.4 การบริการสนับสนุนประคับประคอง ( Support Services)
1.3 รูปแบบการบริการต่อเนื่องของสถานบริการสุขภาพ
1.3.1 การให้บริการแบบผู้ป่วยนอก (Outpatient Program เ
13.2 การให้บริการบางเวลา (Partial Hospital Program
1.3.3 การบำบัดภาวะวิกฤติจิตเวช (Psychiatric Crisi
1.3.4 การบำบัดดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่บ้าน (Psychiatric Home Care
1.3.5 การบำบัดดูแลรายกรณี (Case Management
1.3.6 การบริการทางสังคม (Social Service
บริการหลังจำหน่ายจากแผนกผู้ป่วยใน ของโรงพยาบาลจิตเวช
1 การบำบัดดูแลอย่างต่อเนื่องที่แผนกผู้ป่วยนอก ทั้งการบำบัดด้วยยา และการบำบัด ทางจิตสังคม
2 การให้บริการเยี่ยมบ้าน โดยพย าบาลจิตเวชชุมชนของโรงพยาบาล ใ
บทบาทของพยาบาลในการสร้างเสริม ป้องกัน และฟื้นฟูสภาพจิต แก่บุคคล ครอบครัว และ
ชุมชน
2.1 ขอบเขตการให้การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
2.1.2 การป้องกันปัญหาสุขภาพจิตหรือการเจ็บป่วยทางจิตเวช
ไม่ใช่ บทบาทหน้าที่ของพยาบาลจิตเวชแต่เพียงผู้เดียว แต่ต้องอาศัยความร่วมมือ จากนักวิชาชีพและผู้นำ ชุมชน ตลอดจนหน่วยงานของรัฐหรือองค์กรเอกชน เพื่อให้งานบรรลุเป้าหมายได้เร็วและดีที่สุด
2.1.3 การดูแลช่วยเหลือและบำบัด
บุคลากรในทีมพยาบาลจิตเวชสามารถกระทำได้ ในหลายระดับ ตามความสามารถ ประสบการณ์และข้อบัญญัติของกฎหมายองค์กรวิชาชีพพยาบาลที่กำหนดไว้
2.1.1 การสร้างเสริมสุขภาพจิต
พยาบาลสามารถปฏิบัติแก่บุคคลได้หลายวิธี และเป็นบทบาทหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติให้มาก
ขึ้น เพราะเมื่อบุคคลมีสุขภาพจิตดีแล้วก็ไม่มีความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยทางจิตเวช ถึงแม้จะมีปัญหาก็ สามารถจัดการได้ หรือยอมรับสภาพปัญหาที่จั ดการได้ไม่หมด
2.1.4 การฟื้นฟูสภาพ
พยายามทำให้ผู้ป่วยพัฒนา ความสามารถ ที่เสื่อมถอยไปในเรื่องต่าง ๆ ทั้งด้านร่างกายและจิตใจ หรืออย่างน้อยก็ช่วยให้คง ความสามารถไม่ให้ถดถอยลงไปมากกว่าเดิม โดยเฉพาะเรื่องการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน เพื่อลดภาระ แก่ผู้ดูแล ซึ่งการฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยสามารถทำได้หลายรูปแบบ
2.2 บทบาทพยาบาลในการดูแลผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
2.2.1 การสร้างเสริมสุขภาพจิต
ป้องกันการกลับเป็นซ้ำของปัญหาทาง จิต โดยผ่านวิธีการดังนี้ 1 สอนและให้คำแนะนำ 2 นิเทศผู้ ปฏิบัติงานด้านการพยาบาลสุขภาพจิตและ จิตเวช 3 ประสานงานกับครอบครัวผู้รับบริการ 4 ประสานงานกับเจ้าหน้าที่ในทีมสุขภาพ และ 5 ดำเนินการวิจัย
2.2.2 การป้องกันปัญหาสุขภาพจิต
พยาบาลจะเป็นผู้ที่ให้ความรู้ ความ ช่วยเหลือ/แนะนำเรื่องการปรับตัว การลดความวิตกกังวล การเผชิญปัญหา การลดความเครียด การช่วยเหลือในภาวะวิกฤต
2.2.3 การดูแลช่วยเหลือและบำบัด
พยาบาลจะช่วยให้ผู้รับบริการมีแนวคิด ความรู้สึก และการกระทำที่ถูกต้อง และอยู่ในขอบเขต
ความเป็นจริง รวมทั้งเป็นสื่อกลางที่ช่วยให้ผู้รับบริการเกิดการเรียนรู้ และมองตนเองดี ขึ้น
2.2.4 การฟื้นฟูสภาพ
เป็นการจัดกิจกรรมเพื่อการฟื้นฟูบุคลิกภาพของผู้ที่มีปัญหา สุขภาพจิตและจิตเวช ให้มีสุขภาพจิตที่ดี และดำรงภาวะปกติสุขหลังการเจ็บป่วย