Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Teenage pregnancy, 11, images, เอกสารอ้างอิง
กนกวรรณ ฉันธนะมงคล…
Teenage pregnancy
-
-
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
-
-
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 4
พรอ่งความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์เนื่องจากไม่มีประสบการณ์ในการตั้งครรภ์มาก่อน
-
-
-
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินสุขภาพและดูแลให้คำแนะนําการตรวจร่างกาย ตรวจครรภ์และการคํานวณอายุครรภ์
- ประเมินความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตนการดูแลตนเองระหว่างตั้งครรภ์
3.ให้ความรู้เรื่องโภชนาการแก่หญิงตั้งครรภ์
- แนะนําเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันเพื่อป้องกันการอักเสบติดเชื้อ
- แนะนําเรื่องการนอนหลับพักผ่อน ควรหลับวันละ 8-9hr.
6.แนะนำให้มารดาสังเกตน้ำหนักและดูแลให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม
- ไตรมาสที่ 1 น้ำหนักควรเพิ่ม 0.5-2 กิโลกรัม
- ไตรมาสที่ 2 น้ำหนักควรเพิ่ม 0.5 กิโลกรัม/สัปดาห์
- ไตรมาสที่ 3 น้ำหนักควรเพิ่ม 0.2-0.3 กิโลกรัม/สัปดาห์
- แนะนําให้หญิงตั้งครรภ์นับลูกดิ้นทุกวันโดยการนับหลังรับประทานอาหาร เช้า กลางวัน เย็น เป็นเวลา 1 ชมลูกต้องดิ้น อย่างน้อย 3 ครั้ง รวมกันสามมื้อต้องดิ้นไม่น้อยกว่า10 ครั้งถือว่าปกติ
-
-
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
ปัจจัยด้านสตรีวัยรุ่น
การเปลี่ยนแปลงทางร่างกายและจิตใจพัฒนาการทางเพศที่เริ่มมีความสมบูรณ์มากขึ้นมีความสนใจเรื่องเพศมีความอยากรู้อยากเห็นอยากทดลองที่นําไปสู่การมีเพศสัมพันธ์
การจัดการเรียนการสอนเพศศึกษาในโรงเรียนที่ไม่จริงจังและเนื้อหาไม่ทันต่อสถานการณ์ของสังคมในปัจจุบันทําให้วัยรุ่นขาดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในเรื่องของเพศศึกษาเพศสัมพันธ์การคุมกําเนิดการป้องกันการตั้งครรภ์
การดื่มสุราหรือการใช้สารเสพติดต่างๆทําให้เพิ่มความเสี่ยงต่อการมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ได้ตั้งใจและเกิดการตั้งครรภ์ตามมา
ปัจจัยด้านครอบครัว
ภาระหน้าที่ของพ่อแม่ที่ต้องทํางานจนไม่มีเวลาให้กับลูกขาดความเอาใจใส่ดูแลความใกล้ชิดอบอุ่นในครอบครัวน้อยลงวัยรุ่นมีอิสระมากขึ้น
สัมพันธภาพในครอบครัวไม่ดีพ่อแม่ทะเลาะกันเป็นประจําวัยรุ่นมีความรู้สึกไม่ดีกับครอบครัวบรรยากาศในบ้านไม่น่าอยู่
ครอบครัวแตกแยกพ่อแม่แยกทางกันวัยรุ่นต้องอยู่กับญาติหรือบุคคลอื่นส่งผลทําให้วัยรุ่นรู้สึกว้าเหว่ขาดความรักและความอบอุ่นทําให้แสวงหาความรักในทางที่ไม่เหมาะสม
-
-
-
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
-
-
ให้ความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของร่างกายและจิตใจในขณะตั้งครรภ์พัฒนาการและการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
ระยะคลอด
ดูแลเพื่อส่งเสริมความก้าวหน้าของการคลอดป้องกันระยะของการคลอดยาวนานและเฝ้าระวังภาวะศีรษะทารกไม่ได้สัดส่วนกับช่องเชิงกราน
-
ให้การดูแลเช่นเดียวกับสตรีที่คลอดปกติแต่สิ่งที่สําคัญคือการประเมินความเสี่ยงที่อาจนําไปสู่ภาวะแทรกซ้อนอาจพบภาวะเจริญเติบโตไม่เต็มที่ของกระดูกเชิงกรานในสตรีที่มีอายุน้อยกว่า 16 ปีเป็นสาเหตุของภาวะแทรกซ้อนทางสูติกรรมเช่น การคลอดยาวนาน การคลอดติดขัดการผ่าตัดคลอด การใช้หัตถการทางสูติศาสตร์ที่เพิ่มขึ้น
ระยะหลังคลอด
-
-
-
-
สังเกตอาการผิดปกติที่ควรมาโรงพยาบาลได้แก่อาการไข้ ปวดมดลูก น้ำคาวปลาเป็นสีแดงตลอดไม่จางลง มีกลิ่นเหม็น มีเลือดสดออกทางช่องคลอดจํานวนมากเต้านมอักเสบ บวมแดง
-
-
-
-
เอกสารอ้างอิง
กนกวรรณ ฉันธนะมงคล.การพยาบาลสตรีที่มีโรคร่วมกับการตั้งครรภ์.พิมพ์ครั้งที่ 1.กรุงเทพฯ: บริษัท ส.เจริญการพิมพ์ จำกัด; 2559.
ฐิติพร อิงคถาวรวงศ์.การพยาบาลมารดาและทารก(เล่ม 2) .โครงการผลิตตำราหลักคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ .สงขลา: โรงพิมพ์ พีโอดีไซน์ หาดใหญ่ ; 2559.
-
-
-
-
-
-
-