Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
่ขั้นตอนการทำโครงงานออกแบบและเทคโนโลยี - Coggle Diagram
่ขั้นตอนการทำโครงงานออกแบบและเทคโนโลยี
2.ขึ้นการศึกษาข้อมูลจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
2.1 การขอคำปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จะช่วยให้ผู้เรียนได้แนวคิดที่ใช้ในการกำหนดขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น ในการศึกษาค้นคว้าดังกล่าว ผู้เรียนจะต้องบันทึกสรุปสาระสำคัญไว้ด้วย
2.2ศึกษาจากผลงานของโครงงานคอมพิวเตอร์จากงานแสดงนิทรรศการ หรือจากเอกสารรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจค้นหาได้จากเว็บไซต์ต่าง ๆ ทั่วโลก จะช่วยเพิ่มพูนประสบการณ์ให้กับผู้เรียนในด้านความรู้ เทคนิคและวิธีการพัฒนา นอกจากนี้ยังทำให้เกิดแนวคิดที่จะดัดแปลงผลงานดังกล่าว มาจัดทำโครงงานคอมพิวเตอร์ในหัวข้อที่ตนเองสนใจด้วย
1.ขั้นการคัดเลือกหัวข้อโครงงาน
โดยทั่วไปเรื่องที่จะนำมาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์มักจะได้มาจากปัญหา คำถามหรือความสนใจในเรื่องต่างๆ จากการสังเกตุสิ่งต่างๆที่เกี่ยวเนื่องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือสิ่งต่างๆ รอบตัวผู้เรียนสามารถจะศึกษาการได้มาของเรื่องที่จะทำโครงงานจากตัวอย่างต่อไปนี้
ขั้นตอนจัดทำข้อนำเสนอโครงงาน
3.1 ศึกษาค้นคว้าเอกสารอ้างอิงและรวบรวมข้อมูลที่ได้จากผู้ทรงคุณวุฒิ
3.2 วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อกำหนดขอบเขตและลักษณะของโครงงานที่จะพัฒนา
3.3 ออกแบบการพัฒนา มีการกำหนดลักษณะของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และตัวแปลภาษา โปรแกรม และวัสดุต่างๆ ที่ต้องใช้กำหนดคุณลักษณะของผลงาน ระบุเทคนิคที่ใช้ในการพัฒนา พร้อมทั้งกำหนดตารางการปฏิบัติงาน
3.4 ทำการพัฒนาโครงงานขั้นต้น เพื่อศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้น โดยอาจจะทำการพัฒนาส่วนย่อยๆ บางส่วนตามที่ได้ออกแบบไว้แล้ว นำผลจากการศึกษาในช่วงนี้ไปปรับปรุงแผนการทดลองที่ออกแบบไว้ในครั้งแรก ให้เหมาะสมมากยิ่งขึ้น
3.5 จัดทำและเสนอข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อขอคำแนะนำปรับปรุงแก้ไข
4.ขั้นการลงมือทำโครงงาน
4.1 การเตรียมการ
4.2 ขั้นลงมือพัฒนา
4.3 การตรวจสอบผลงานและแก้ไข
4.4 การอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
4.5 แนวทางการการพัฒนาโครงงานในอนาคตและข้อเสนอแนะ
ขั้นการเขียนรายงาน
5.2 รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์เป็นวิธีสื่อความหมายที่มีประสิทธิภาพ เพื่อให้ผู้อื่นได้เข้าใจแนวคิด วิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้า ข้อมูลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ เกี่ยวกับโครงงาน ในการเขียนรายงานนั้น ผู้เรียนควรใช้ภาษาที่อ่านและเข้าใจได้ง่าย ชัดเจน กระชับ และตรงไปตรงมา
5.1 รายละเอียดต่างๆ ในการพัฒนา และคู่มือการใช้งาน
ขั้นการนำเสนอและแสดงผลงานของโครงงาน
6.1 แสดงออกถึงผลิตผลของความคิด ความพยายามในการทำงานที่ผู้ทำโครงงานได้ทุ่มเท และเป็นวิธีที่ทำให้ ผู้อื่นได้รับรู้และเข้าใจถึงผลงานนั้น
6.3 เนื้อหาหรือองค์ประกอบที่ควรบรรจุอยู่ในการนำเสนอผลงาน ด้วยการระบุกฎเกณฑ์การให้คะแนนในส่วนของการนำเสนอผลงาน
6.2 การเสนอผลงานอาจทำได้ในหลายรูปแบบต่างๆ กัน
การจัดนิทรรศการโดยโปสเตอร์และอธิบายด้วยคำพูด เป็นต้น
การรายงานด้วยคำพูดในที่ประชุม
การแสดงผลงานโดยไม่มีการอธิบายประกอบ