Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
PRINCIPLES OF MARKETING หลักการตลาดการแบ่งส่วนตลาด การเลือกส่วนตลาด …
PRINCIPLES OF MARKETING หลักการตลาดการแบ่งส่วนตลาด การเลือกส่วนตลาด
และการวางต าแหน่งทางการตลาด
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
เพื่อให้สามารถกำหนดและเลือกใช้เกณฑ์ในการแบ่งส่วนตลาดให้กับผลิตภัณฑ์ได้อย่างเหมาะสม
เพื่อให้สามารถเลือกตลาดเป้าหมายได้อย่างเหมาะสม
เพื่อให้รู้และเข้าใจถึงความสำคัญของแนวคิดการแบ่งส่วนตลาด การเลือกส่วนตลาด และการวางตำแหน่งทางการตลาดต่อการดำเนินกิจกรรมทางการตลาด
เพื่อให้สามารถวางต าแหน่งทางการตลาดของผลิตภัณฑ์ได้อย่างเหมาะสม
ขั้นตอนในการแบ่งส่วนตลาด การเลือกส่วนตลาด
และการวางตำแหน่งทางการตลาด
การแบ่งส่วนตลาดผู้บริโภค
การแบ่งส่วนตลาดตามลักษณะภูมิศาสตร์
เป็นการแบ่งตลาดออกเป็นส่วนๆ โดยอาศัยเกณฑ์การจำแนกทางภูมิศาสตร์ เช่น เขตพื้นที่ ย่านที่อยู่อาศัย
การแบ่งส่วนตลาดตามลักษณะประชากรศาสตร์
เป็นการแบ่งตลาดออกเป็นส่วน ๆ โดยอาศัยเกณฑ์การจ าแนกตามลักษะทาง ประชากรศาสตร์ เช่น อายุ วัฏจักรชีวิต เพศ ขนาดของครอบครัว
การแบ่งส่วนตลาดตามหลักจิตวิทยา
การแบ่งส่วนตลาดตามหลักจิตวิทยาได้แบ่งผู้ซื้อเป็นกลุ่มแตกต่างกันโดยอาศัยเกณฑ์ ชั้นทางสังคม ลักษณะบุคลิกภาพ และค่านิยมและรูปแบบการดำเนินชีวิต
การแบ่งส่วนตลาดตามพฤติกรรม
การแบ่งตลาดออกเป็นส่วนๆ โดยอาศัยเกณฑ์
การจ าแนกตามความรู้ เจตคติ การใช้งาน
การแบ่งส่วนตลาด
หมายถึง กระบวนการแบ่งกลุ่มผู้ซื ้อที่มีลักษณะแตกต่างกันออกเป็นกลุ่มย่อย ๆ
ตลาดผู้บริโภค
เป็นตลาดที่ประกอบด้วยบุคคล กลุ่มบุคคล
หรือครัวเรือนทั ้งหมดที่มีความต้องการซื ้อ
ตลาดธุรกิจ
เป็นตลาดที่ประกอบด้วยองค์กรทั ้งหมดที่
ต้องการสินค้าและบริการ
เกณฑ์ในการแบ่งส่วนตลาดธุรกิจ
การแบ่งส่วนตลาดตามลักษณะการใช้งาน
เกณฑ์ด้านลักษณะการใช้งานประกอบด้วย
เทคโนโลยี สภานภาพของผู้ใช้ ศักยภาพของผู้ใช้
การแบ่งส่วนตลาดตามลักษณะการซื้อ
เกณฑ์ด้านลักษณะการซื้อประกอบด้วย หน่วยทำงานที่ทำหน้าที่ซื้อขององค์กร โครงสร้างอำนาจ ความสัมพันธ์ นโยบายการจัดซื้อ เกณฑ์การตัดสินใจซื้อ
การแบ่งส่วนตลาดตามประชากรศาสตร์
กณฑ์ด้านประชากรศาสตร์ประกอบด้วย อุตสาหกรรม ขนาดบริษัท
สถานที่
การแบ่งส่วนตลาดตามปัจจัยการเลือกซื้อ
เกณฑ์ด้านปัจจัยการเลือกซื้อ ประกอบด้วยความเร่งด่วนในการซื้อ การใช้งานเฉพาะอย่าง ขนาดของคำสั่งซื้อ
การแบ่งส่วนตลาดตามคุณลักษณะส่วนตัว
เกณฑ์ด้านคุณลักษณะส่วนตัวของกิจการผู้ซื ้อในตลาดเป้าหมายประกอบด้วย คุณค่าที่ยึดถือของผู้ซื้อและผู้ขาย เจตคติต่อความเสี่ยง และความภัคดี
การแบ่งส่วนตลาดโดยเกณฑ์หลายปัจจัย
การใช้เกณฑ์ใดเกณฑ์หนึ่งดังกล่าวจะช่วยให้นักการตลาดสามารถแบ่งส่วนตลาดได้ แต่ในความเป็นจริงการใช้เกณฑ์การแบ่งส่วนตลาดเพียงรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง
เกณฑ์ในการแบ่งส่วนตลาดอย่างมีประสิทธิผล
ขนาดของส่วนตลาดมีขนาดใหญ่เพียงพอที่จะทำกาไรได้
(Substantial)
สามารถเข้าถึงส่วนตลาดนั้นได้ (Accessible)
สามารถวัดได้(Measurable)
ส่วนตลาดนั้นมีความแตกต่าง (Differentiable)
สามารถดำเนินการในส่วนตลาดนั้นได้ (Actionable)
การเลือกตลาดเป้าหมาย
เมื่อนักการตลาดได้ดำเนินการแบ่งส่วนตลาดจนสามารถเกิด
ความเข้าใจในตลาดแต่ละส่วนแล้ว
การประเมินส่วนตลาด
ความน่าสนใจของส่วนตลาด
วัตถุประสงค์และทรัพยากรของกิจการ
ขนาดของส่วนตลาดและการเติบโต
การเลือกส่วนตลาดเป้าหมาย
ตลาดเป้าหมาย (Target Market) คือ กลุ่มผู้บริโภคซึ่งธุรกิจได้วางแผนเข้าหา เพื่อตอบสนองความต้องการ
กลยุทธ์การเลือกตลาดเป้าหมาย
การตลาดแบบไม่แตกต่าง
การตลาดแบบแตกต่าง
การตลาดแบบมุ่งเฉพาะส่วน
การวางตำแหน่งทางการตลาด
การวางตำแหน่งทางการตลาด หมายถึงการกำหนดคุณลักษณะเด่นของผลิตภัณฑ์ของกิจการที่มีเหนือคู่แข่ง
ขั้นตอนการวางต าแหน่งทางการตลาด
ประเมินข้อได้เปรียบทางการแข่งขัน
เลือกข้อได้เปรียบทางการแข่งขัน
กำหนดข้อได้เปรียบทางการแข่งขันที่เป็นไปได้
สื่อสารข้อได้เปรียบทางการแข่งขันไปยังกลุ่มเป้าหมาย
กลยุทธ์การวางตำแหน่งทางการตลาด
โอกาสในการใช้ผลิตภัณฑ์ เกี่ยวข้องกับการกำหนดตำแหน่งทางการตลาดตามโอกาสในการใช้ผลิตภัณฑ์
กลุ่มของผู้ใช้ เกี่ยวข้องกับการกำหนดตำแหน่งทางการ
ตลาดตามกลุ่มของผู้ใช้
ผลประโยชน์ เกี่ยวข้องกับการกำหนดตำแหน่งทางการตลาดโดยชูจุดขายที่ผลประโยชน์ของตัวผลิตภัณฑ์ที่ผู้บริโภคจะได้รับ
คู่แข่งขัน เกี่ยวข้องกับการกำหนดตำแหน่งทางการ
ตลาดที่เกี่ยวข้องกับคู่แข่งขัน
คุณลักษณะของผลิตภัณฑ์เกี่ยวข้องกับการกำหนดตำแหน่งทางการตลาดตามคุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ เช่น รูปร่าง รสชาติ
ระดับชั้นผลิตภัณฑ์ เกี่ยวข้องกับการเพิ่ม ผลิตภัณฑ์ใหม่โดยอาศัยตำแหน่งทางการตลาดของผลิตภัณฑ์เดิม