Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบการตลาดและ สภาพแวดล้อมทางการตลาด - Coggle Diagram
ระบบการตลาดและ
สภาพแวดล้อมทางการตลาด
วัตถุประสงค์การศึกษา
เพื่อให้นิสิตสามารถวิเคราะห์ ความแตกต่างระหว่าง สภาพแวดล้อมทางการตลาดที่เป็นสิ่งแวดล้อมภายใน และ สภาพแวดล้อมภายนอก
เพื่อให้นิสิตสามารถอธิบายผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมทางการตลาดทางด้านต่าง ๆ
เพื่อให้นิสิตสามารถอธิบายถึงประเภทของสภาพแวดล้อมทางการตลาด (Marketing Environment)
เพื่อให้นิสิตสามารถกำหนดกลยุทธ์ทางการตลาดจากการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางการตลาด
เพื่อให้นิสิตสามารถอธิบายความหมายของ ระบบการตลาด(Marketing System)
เพื่อให้นิสิตสามารถนำความรู้การวิเคาราะห์สภาพแวดล้อมทางการตลาด ไปประยุกต์ใช้กับการทำการตลาดของบริษัทและองค์กร
ระบบการตลาด (Marketing System)
ระบบหมายถึง การรวมตัวเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันขององค์ประกอบ
ย่อยหรือระบบย่อยต่างๆ รวมเป็ นอันหนึ่งเดียวกัน
ระบบการตลาด หมายถึง การรวมตัวกันเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันของ
องค์ประกอบหรือระบบหน่วยย่อยต่าง
สภาพแวดล้อมทางการตลาด (Marketing Environment)
สภาพแวดล้อมทางการตลาดที่เป็นสิ่งแวดล้อมภายใน
(Internal Environment) คือสภาพแวดล้อมทางการตลาดที่เป็ นสิ่งแวดล้อมภายใน องค์กรสามารถทำการออกแบบหรือควบคุมได้
บริษัท
(The Company)
ฝ่ายวิจัยและพัฒนา (Research and development)
ฝ่ายจัดซื้อ (Purchasing)
ฝ่ายการเงิน (Financing)
ฝ่ายผลิต (Manufacturing)
ผู้บริหารระดับสูง (Top management)
ฝ่ายบัญชี (Accounting)
ส่วนประสมทาง
การตลาด (Marketing mix )
หมายถึง กลุ่มของเครื่องมือทางการตลาดที่
สามารถควบคุมได
สภาพแวดล้อมทางการตลาดที่เป็ นสิ่งแวดล้อม
ภายนอก (External Environment) คือ สภาพแวดล้อมทางการตลาดที่เป็นสิ่งแวดล้อมภายนอกเป็นสภาพแวดล้อมที่อยู่ภายนอกองค์กร
สภาพแวดล้อมระดับมหภาค คือ สภาพแวดล้อมระดับมหภาคเป็นสิ่งที่นักการตลาดไม่สามารถควบคุมได้
-ด้านเศรษฐกิจ
-ด้านการเมืองและกฎหมาย
-ด้านประชากรศาสตร ์
-ด้านเทคโนโลยี
-ด้านธรรมชาติ
-ด้านสังคมและวัฒนธรรม
-ด้านการแข่งขัน
สภาพแวดล้อมระดับมหภาค
สภาพแวดล้อมทางด้านประชากรศาสตร์
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างด้านอายุ ,การศึกษา,ครอบครัว,การย้ายถิ่นฐาน
สภาพแวดล้อมทางด้านเศรษฐกิจ
อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟ้อ อัตราดอกเบี้ย การจ้างงานและอัตราค่าจ้าง
สภาพแวดล้อมทางด้านการเมืองและกฎหมาย
นโยบายของรัฐบาล ระเบียบข้อบังคับและกฎหมาย และ กลุ่มพลังมวลชนในสังคม
สภาพแวดล้อมทางด้านเทคโนโลยี
การเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีทางการสื่อสาร การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีด้านพลังงาน และการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีด้านกระบวนการผลิต
สภาพแวดล้อมทางด้านธรรมชาติ
การเปลี่ยนแปลงของฤดูกาล ระดับมลพิษ และภัยธรรมชาติ
สภาพแวดล้อมทางด้านสังคมและวัฒนธรรม
การตื่นตัวด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การตื่นตัวเรื่องสุขภาพ และปัญหาการจราจร
สภาพแวดล้อมทางด้านการแข่งขัน
การเปลี่ยนแปลงกลยุทธ์คู่แข่ง การมีคู่แข่งรายใหม่ การออกไปจากตลาดคู่แข่ง
ลักษณะการแข่งขันในตลาด
การแข่งขันระหว่างตรายี่ห้อ (Brand Competition)
การแข่งขันที่เกิดจากสินค้าทดแทนกันได้ (Substitute
Product Competition)
การแข่งขันที่เกิดจากสินค้าหรือบริการอื่น ๆ โดยทั่วไป
(Other Product Competition
การวิเคราะห์แรงกดดันในการแข่งขัน
ภัยคุกคามจากคู่แข่งในธุรกิจเดียมกัน
ภัยคุกคามคู่แข่งรายใหม่
ภัยคุกคามจากสินค้าที่สามารถใช้ทดแทน
ภัยคุกคามจากอำนาจต่อรองของผู้ซื้อ
ภัยคุกคามจากอำนาจต่อรองของผู้จัดส่งวัตถุดิบ
สภาพแวดล้อมระดับจุลภาค
(Micro Environment)
คู่แข่งขัน (Competitors)
กลุ่มสาธารณชน (Publics)
ผู้บริโภค (Consumer)
คนกลางทางตลาด (Marketing Intermediaries)
ผู้จัดส่งวัตถุดิบ (Supplier)
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางการตลาด
จุดอ่อน (Weaknesses)
ปัจจัยต่างๆภายในองค์กรที่เป็นข้อบกพร่อง หรือเป็นจุดอ่อน น าไปสู่การเสียเปรียบคู่แข่ง
โอกาส (Opportunities)
สภาพแวดล้อมภายนอกที่เป็นประโยชน์ต่อการด าเนินงานขององค์กร
จุดแข็ง (Strengths)
ปัจจัยต่างๆภายในองค์กร ที่ท าให้เกิดความเข้มแข็งหรือเป็นจุดแข็งขององค์กรที่จะน าไปสู่การได้เปรียบคู่แข่งขัน
อุปสรรค (Threats)
สภาพแวดล้อมภายนอกที่คุกคามต่อการด าเนินงานขององค์กร สภาพแวดล้อมภายนอก
การกำหนดกลยุทธ์ทางการตลาดจากการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางการตลาด (TOWS Matrix)
ดำเนินการหลังจาก SWOT Analysis
เป็นการจับคู่กันระหว่างสภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
เป็นตารางที่ช่วยในการก าหนดกลยุทธ์
แนวทางในการกำหนดกลยุทธ์
กลยุทธ์เชิงแก้ไข (WO)
เป็ นการใช้ประโยชน์จากโอกาสทางธุรกิจ มาปกปิดหรือลดจุดอ่อนของกิจการลง
กลยุทธ์เชิงรับ (ST)
เป็นการใช้จุดแข็ง หรือจุดเด่นของกิจการ เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาหรืออุปสรรคที่กิจการกำลังเผชิญอยู่
กลยุทธ์เชิงรุก (SO)
เป็นการใช้จุดแข็ง หรือจุดเด่นของกิจการ เข้าไปฉกฉวยหรือหาประโยชน์จากโอกาส
กลยุทธ์เชิงป้องกัน (WT)
เป็นการปรับตัวให้เข้ากับอุปสรรคที่กำลังเผชิญอยู่