Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Management in the ward การบริหารจัดการในหอผู้ป่วย - Coggle Diagram
Management in the ward
การบริหารจัดการในหอผู้ป่วย
บทบาทหน้าที่ของบุคลากร ในการจัดการและบริหารงานในแต่ละรูปแบบ
In charge
2.ให้การรักษาตามคำสั่งแพทย์
1.วางแผนการพยาบาล
3.เป็นหัวหน้าทีมการพยาบาล
มอบหมายงานให้ Med nurse,
4.ควบคุมตรวจสอบการให้บริการอย่างถูกต้องทางเทคนิค
5.จัดสิ่งแวดล้อมให้เป็นระเบียบ
สะดวกและปลอดภัยแก่การปฏิบัติงาน
6.จัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ให้พร้อมใช้
7.สอนแนะนำผู้ป่วยและญาติเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตัวเอง
Leader
แบ่งทีมเป็น 2 ทีม
1.รับเวรก่อนเวลา 15 นาทีเซ็นชื่อลงเวลาในสมุด
2.รับเวร 08.00 น.เยี่ยมตรวจผู้ใช้บริการร่วมกับผู้ส่งเวร
3.ฟังมอบหมายงานจากหัวหน้าเวร
4.นำทีมประชุมปรึกษาหารือก่อนปฏิบัติงานมอบหมายงานให้เจ้าหน้าที่ทุกคนในทีมทราบรายละเอียดการปฏิบัติต่างๆให้ถูกต้อง
5.เยี่ยมตรวจและตาม round ร่วมกับแพทย์ รับคําสั่งการรักษาและมอบหมายงานให้สมาชิกทีมที่รับผิดชอบผู้รับบริการที่มีแผนการรักษาใหม่ ช่วยสมาชิกทีมทำการรักษาพยาบาล
6.ดูแลให้ผู้ใช้บริการในทีมได้รับแผนการรักษาพยาบาลอย่างครบถ้วนและต่อเนื่อง
7.นิเทศและติดตามประเมินผลงานที่มอบหมายให้สมาชิกทีมทุกคนรับผิดชอบ ให้คำแนะนำเพิ่มเติม
8.ตรวจความเรียบร้อยภายในทีมดูการปฏิบัติงานของสมาชิกดูความเรียบร้อยของอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อม
9.ตรวจสอบหน้าที่พิเศษต่าง ๆ ของสมาชิกทีม
10.ส่งเวรให้หัวหน้าเวร
11.ร่วมส่งเวรให้เวรต่อไปเยี่ยมตรวจผู้รับบริการร่วมกับผู้รับเวร
12.ตรวจตราความเรียบร้อยทั่ว ๆ ไปก่อนลงเวร
Head ward
1.ควบคุมการทำงานภายในวอดร์ด
2.เป็นที่ปรึกษาในการแก้ปัญหาการปฏิบัติงาน
3.ควบคุมความเสี่ยง/ตรวจสอบรายงานการบันทึกทางการพยาบาล
4.ติดตาม สนับสนุน พัฒนาคุณภาพพยาบาลภายในวอร์ด
สร้างเสริมกำลังใจให้สมาชิกในทีม
5.กำหนดมาตรฐานในหน่วยงาน
6.จัดตารางเวรให้กับสมาชิกภายในวอร์ด
7.กำหนดแนวทางการพัฒนาและฟื้นฟูความรู้บุคลากรทางการพยาบาลทุกระดับ
รับฟังปัญหาคอยเป็นที่ปรึกษาและแก้ปัญหาเวลาติดขัด
หัวหน้าหอผู้ป่วยเป็นผู้มีบทบาทอย่างมากในการรับฟังปัญหาคอยเป็นที่ปรึกษาและแก้ปัญหาร่วมกับบุคลากรทั้งปัญหาในการทำงานหรือในชีวิตส่วนตัว ในการพิจารณาปัญหานั้นหัวหน้าหอผู้ป่วยจะมองในแง่ดีไว้ก่อนและมีความยุติธรรม ส่วนวิธีการแก้ปัญหาจะให้เกียรติบุคลากรโดยการยอมรับและรับฟังทุกความคิดเห็นของทุกคน
บรรยากาศการทํางานเหมือนเป็นบ้านที่สองของทุกคน
หัวหน้าหอผู้ป่วยต้อบสร้างให้มีบรรยากาศการทํางานที่อบอุ่น ทุกคนรักใคร่กลมเกลียวช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เน้นให้อยู่กันแบบพี่น้องมีการจัดกิจกรรมสันทนาการเพื่อสร้างขวัญและกำลังใจแก่บุคลากร
มอบหมายงานตามความสามารถ เปิดโอกาสตัดสินใจได้เต็มที่
หัวหน้าหอผู้ป่วยเป็นผู้มอบหมายงานตามความถนัดและความรู้ความสามารถของบุคลากรและคอยติดตามผลการทํางานหากมีปัญหาก็เข้าไปให้คําปรึกษาและช่วยแนะนํา เมื่อมอบหมายงานแล้วหัวหน้าหอผู้ป่วยจะเปิดโอกาสให้บุคลากรได้มีอำนาจตัดสินใจในงานนั้นด้วยตนเอง เพื่อพัฒนาให้บุคลากรมีความสามารถมากขึ้น
ส่งเสริมความสามารถสร้างคน สร้างโอกาส ให้เรียนต่อ
หัวหน้าหอผู้ป่วยมีการส่งเสริมให้บุคลากรมีความรู้ด้านวิชาการโดยการส่งเข้าอบรมตามความเหมาะสมของแต่ละคน หรือให้ได้ศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น และมีการสนับสนุนให้บุคลากรรู้จักหาโอกาสพัฒนาตนเองตลอดจนค้นหาเป้าหมายในชีวิต
Member
2.ฟังมอบหมายงานจากหัวหน้าทีมและหัวหน้าเวร
3.ดูแลให้ผู้รับบริการได้รับแผนการรักษาพยาบาลอย่างครบถ้วนและต่อเนื่อง
4.รับผิดชอบในการทําความสะอาดร่างกายผู้รับบริการและสิ่งแวดล้อม และ treatment ของผู้รับบริการที่รับผิดชอบ
5.เขียนบันทึกรายงานต่างๆ และวางแผนการพยาบาลในฟอร์มการบันทึก
6.ร่วม Pre-conference และ Post Conference โดยนําเสนอข้อมูลการดูแลในผู้ป่วย Case ที่ตนเอง
7.เป็นผู้ประสานและติดตามผลลัพธ์เกี่ยวกับความเจ็บป่วยของผู้ป่วยที่อยู่ในความรับผิดชอบ
1.ให้การดูแลผู้ป่วยตลอดในเวรที่ได้รับมอบหมาย
สิ่งที่ควรคำนึงถึงการจัดระบบบริการในแต่ละหอผู้ป่วย
3.ความซับซ้อนของโรค
1.บริบทของหอผู้ป่วย
ความพึงพอใขของผู้รับบริการและญาติผู้ดูแล
2.อัตราพยาบาลวิชาชีพ
รูปแบบการจัดการบริหาร/การมอบหมายงาน
Mix method
(การจัดบริการหอผู้ป่วยแบบผสมผสาน)
ความหมาย
เป็นการทำงานแบบไม่ได้ใช้วิธีใดวิธีหนึ่งโดยเฉพาะ แต่เป็นการผสมผสานกัน เช่น แบบทีมรวมกับแบบตามหน้าที่ เพื่อให้ปฎิบัติการพยาบาลได้ครอบคลุมและตอบสนองความต้องการของผู้ป่วย
ข้อดี
มีการกระจายอำนาจในการตัดสินใจ
เกิดการทำงานแบบหลากหลาย ทำงานได้ครอบคลุมมากขึ้น
สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ป่วยได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ผู้ป่วยได้รับการดูแลอย่างทั่วถึง
ข้อเสีย
เกิดความสับสนในบทบาทหน้าที่
มีโอกาสเกิดความขัดแย้งในการปฏิบัติงานได้ง่าย
Functional method
(การจัดบริการหอผู้ป่วยแบบกิจกรรมหรือตามหน้าที่)
ความหมาย
เป็นการจัดบริการที่มอบหมายให้ปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยตามกิจกรรมหรือหน้าที่ โดยจัดแบ่งกิจกรรมการพยาบาล ตามความรู้ความสามารถ ได้แก่ การฉีดยา ทำ แผล ให้อาหาร รับผู้ป่วยใหม่ ช่วยแพทย์ทําหัตถการ เป็นต้น
ข้อดี
พัฒนาทักษะการปฏิบัติงานได้ดีและ เร็ว
2.ปลอดภัยในการปฏิบัติการพยาบาล
ไม่สับสนในการทํางาน
เหมาะกรณีมีคนน้อย
ข้อเสีย
มุ่งงานมากกว่าผู้ป่วย
ไม่สามารถทราบความต้องการที่แท้จริงของผู้ป่วย
ขาดความเป็นองค์รวม
Team method
(การจัดบริการหอผู้ป่วยแบบทีม)
ความหมาย
จํานวนทีมที่จัดแบ่งขึ้นอยู่กับจํานวนผู้ป่วย ความรุนแรงซับซ้อนของผู้ป่วย
มีการเพิ่ม Leader ในระบบการทำงาน
ข้อดี
เกิดทักษะการทำงานเป็นทีม
เกิดความสามัคคี
ผู้ป่วยได้รับการดูแลต่อเนื่อง
ข้อเสีย
ต้องใช้คนจำนวนมาก (ทุกระดับ)
อาจไม่ได้ผล ถ้าไม่แบ่งงานความรับผิดชอบให้หัวหน้าเวร หัวหน้าทีมอย่างจริงจัง
มีเป้าหมายแผนการพยาบาลเฉพาะแต่ละเวรไม่ต่อเนื่อง
Case method (การจัดบริการหอผู้ป่วยแบบรายกรณี/รายผู้ป่วย)
ความหมาย
เป็นการจัดบริการที่มอบหมายผู้ป่วยให้แก่พยาบาลทําการดูแลเป็นรายๆ ไป โดยดูแลผู้ป่วยรายนั้นอย่างครบถ้วนภายในรอบเวรนั้น พยาบาลจะได้รับมอบหมายให้ดูแลผู้ป่วยในลักษณะความรุนแรง ซับซ้อน (Complicate) มากกน้อยต่างกันตามแต่สมรรถนะของพยาบาล
ข้อดี
สามารถศึกษาความต้องการปัญหา ผู้ป่วยได้ดี /องค์รวม
ผู้ป่วยพึงพอใจสูง
เน้นผู้ป่วยเป็นหลัก
ข้อเสีย
1.ไม่เหมาะสําหรับพยาบาลจบใหม่และด้อย ประสบการณ์
2.ไม่เหมาะกับหอผู้ป่วยที่มีการรับใหม่ –จําหน่าย มากๆ ในแต่ละเวร
3.ใช้พยาบาลมาก รายจ่ายสูง เครื่องมือ เครื่องใช้ มาก หากทําให้ได้ดี