Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ชีววิทยาสิ่งแวดล้อม (Environmental Biology) - Coggle Diagram
ชีววิทยาสิ่งแวดล้อม (Environmental Biology)
นิเวศวิทยา (Ecology)
ศึกษาบ้านหรือที่อยู่อาศัย (House/habitat) หรือ สภาพแวดล้อม (Environment) ในวงกว้าง
ปัจจัยทางกายภาพ
อุณหภูมิ
แสง
ปริมาณน้ำ
แร่ธาตุต่างๆ
ลำดับของมีชีวิต
ระดับประชากร (population)
ระดับชุมชน (community)
่ ระดับสิ่งมีชีวิต (individual organisms)
ระดับระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระดับชีวนิเวศ (Biomes)
ชีวภาค (Biosphere)
วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (Environmental science)
ศึกษาและพัฒนาแนวทางการแก้ปัญหาเพื่อจัดการกับสิ่งแวดล้อมซึ่งครอบคลุมทุกระบบของอากาศ น้ำ ดิน พลังงาน และสิ่งมีชีวิตที่อยู่รอบตัวหรือสัมพันธ์กับมนุษย์
ผ่านมุมมองของมนุษย์ที่ยึดถือมนุษย์เป็นจุดศูนย์กลางใน
ระบบบูรณาการพหุวิทยาการนี
มีการศึกษาปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์โดยเฉพาะ
มนุษย์มีหน้าที่รับผิดชอบปัญหาสิ่งแวดล้อม
ชีววิทยาสิ่งแวดล้อม (Environmental biology)
เน้นไปที่ "สิ่งมีชีวิตทางชีวภาพของสิ่งแวดล้อม"
ศึกษาว่าสิ่งมีชีวิตมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมอย่างไร จุดสนใจหลักอยู่ที่ระบบนิเวศประเภทต่างๆ ทั้งบนบก น้ำจืด ทางทะเล และวิธีที่กิจกรรมของมนุษย์มีอิทธิพลต่อระบบนิเวศเหล่านี
นักชีววิทยาสิ่งแวดล้อมจึงให้ความสำคัญกับชีววิทยาของระบบนิเวศและกระบวนการด้านสิ่งแวดล้อม สาเหตุและผลของการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม และผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมที่มีต่อชีวิตบนโลก
ประวัติความเป็นมา
ในปี 1935 A. G. Tansley ได้เสนอคำว่า Ecosystem เป็นครั้งแรก
ในปี 1969 Eugene Odum ได้ให้คำนิยามว่า เป็นการศึกษาสิ่งมีชีวิตในบริเวรที่อยู่อาศัย
ศตวรรษที่ 19 จึงเริ่มยอมรับว่า นิเวศวิทยาเป็นศาสตร์อีกสาขาหนึ่ง
ศตวรรษที่ 20 ความสำคัญในการศึกษาทางนิเวศวิทยาส่วนใหญ่อยู่ที่ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม
ในปี 1866 เอิร์น เฮกเกล (Ernst Haeckel) นักสัตววิทยาชาวเยอรมันได้ให้ชื่อศาสตร์แขนงนี้ว่า “Ecology”
ในปี 1960 และ 1970 มีการคิดทบทวนใหม่เกี่ยวกับคำว่า สิ่งแวดล้อม (Environment)
Reiter (1865) ได้แนะน าให้ใช้ค าว่า oekologie เป็น Ecology
ช่วงปี ค.ศ. 1960 เป็นต้นมา มีการกำหนดนิยามใหม่ของคำว่า
สิ่งแวดล้อมขึ้นมาในมุมมองใหม่
ในปี 1859 เจฟฟรอย เซนต์ ฮิแลร์(Geoffroy Saint Hilaire ) ได้ใช้ว่า พฤติกรรมวิทยา (Ethology)
การปฏิวัติสีเขียว (Green revolution)
การปฏิวัติสีเขียวหรือการปฏิวัติเกษตรกรรมทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในมิติต่างๆ
ด้านความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
ด้านการผลิตอาหาร
ด้านผลกระทบต่อเศรษฐศาสตร์และสังคม
ส่วนประกอบและความสัมพันธ์ของ
ระบบต่างๆของโลก
อุทกภาค (Hydrosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)
ธรณีภาค (Lithosphere)
ชีวภาค (Biosphere)
บิดาแห่งวิชานิเวศวิทยา
เอิร์น เฮกเกล (Ernst Haeckel)