Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นางสาวอังคณา วิศิษฎ์ธรรมศรี อายุ 53 ปี เตียง 18 Ca Ampulla with Thyroid …
นางสาวอังคณา วิศิษฎ์ธรรมศรี
อายุ 53 ปี เตียง 18
Ca Ampulla with Thyroid
อาการสำคัญที่มาโรงพยาบาล
: 2 PTA มีไข้ต่ำๆ ตัวเหลือง หน้าซีด
General Appearance
: ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี ปวดท้องเป็นๆหายๆ ถ่ายเหลว3ครั้ง มีไข้ต่ำๆ
U/D
: DLP , HT
operation
:Whipple operation
สาเหตุของมะเร็งตับอ่อน
สาเหตุของมะเร็งตับอ่อนยังไม่ชัดเจน มีรายงานความเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งตับอ่อนพบว่าคนสูบบุหรี่มีความเสี่ยง (relative risk) มากกว่าคนไม่สูบบุหรี่ ประมาณ 1.6-3.1 เท่า อาหารที่มีไขมันสัตว์ในปริมาณที่สูง การสัมผัสสาร DDTหรืออนุพันธ์ของ ปิโตรเลียมล้วนมีโอกาสเสี่ยงมากขึ้นสำหรับรังสีหรือยาเคมีบำบัดอาจเพิ่มความเสี่ยงเพียงเล็กน้อยเท่านั้นเบาหวาน, ตับอ่อนอักเสบเรื้อรัง หรือความผิดปกติทางพันธุกรรม อาจมีความสัมพันธ์กับการเกิดมะเร็งตับอ่อนเพียงเล็กน้อย
Ca Ampulla
ผู้ป่วย on Jackson Drain
ผู้ป่วยได้รับยา
Tramol 50 mg 1 tab po prn q 8 hr
Morphine 3 g v q 6 hr
Meropenem 1 g v q 8 hr
Morphine
การพยาบาล :
การฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ ควรฉีดช้าๆ ให้ช่วงเวลาฉีดแต่ละครั้งมากกว่า 5 นาที พระต้องสังเกตอาการของผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด การพยาบาล
สังเกตและตรวจสอบสัญญาณชีพก่อนและหลังให้ยา ถ้าพบอัตราการหายใจน้อยกว่า 12 ครั้งต่อนาที ควรรายงานแพทย์ทราบเพื่อพิจารณางดยา
บันทึกปริมาณน้ำและน้ำ100% การงานของไต
สังเกตอาการข้างเคียงของยา อาการติดยา ถ้ายาระคายเคืองกระเพาะอาหาร ให้ รับประทานยาร่วมกับนมหรืออาหาร หลีกเลี่ยงการดื่มสุราและยากดประสาท 5. สังเกตระดับความรู้สึก กาวะทางจิตใจในผู้ที่รับยานานๆ
แนะนำผู้ป่วยให้เปลี่ยนอิริยาบถอย่างช้าๆ เพื่อป้องกันความดันโลหิตต่ำ
Tramol
การพยาบาล
: 1. ติดตามผลข้างเคียง เช่น มึนงง ง่วงนอน การมองเห็นไม่ชัด (หลีกเลี่ยงการขับรถ) คลื่นไส้ (รับประทานยาพร้อมอาหาร รับประทานอาหารทีละน้อย บ่อยครั้ง) เป็นต้น 2 รายงานให้แพทย์ทราบหากผู้ป่วยมีอาการคลื่นไส้ มึนงง ท้องผูกอย่างรุนแรง
Meropenem
การพยาบาล
: ผู้ใหญ่ ฉีดยาปริมาณ 2 กรัม ทุก 8 ชั่วโมง โดยหยดยาเข้าทางหลอดเลือดดำประมาณ 15-30 นาที
เด็กที่มีอายุ 3 เดือนขึ้นไป และมีน้ำหนักตัวไม่เกิน 50 กิโลกรัม ฉีดยาปริมาณ 40 มิลลิกรัม/น้ำหนักตัวเป็นกิโลกรัม ทุก 8 ชั่วโมง โดยฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำประมาณ 3-5 นาที หรือหยดยาเข้าทางหลอดเลือดดำประมาณ 15-30 นาที ปริมาณยาสูงสุด 2 กรัม
ความหมาย
คือ เนื้องอกร้ายหรือมะเร็งซึ่งเกิดขึ้นจากเซลล์ของตับอ่อน ผู้ป่วยมะเร็งตับอ่อนมักมาพบแพทย์เมื่อก้อนมะเร็งมีขนาดใหญ่ เนื่องจากอาการในระยะแรกมักไม่เฉพาะเจาะจงหรือไม่มีอาการแสดงเลย จนกระทั่งเป็นมากแล้วจึงจะแสดงอาการ เช่น ปวดท้องหรือปวดหลังเรื้อรัง เบื่ออาหาร น้ำหนักตัวลดลง ตัวเหลือง ตาเหลือง (ดีซ่าน)
อาการมะเร็งตับอ่อน
อาการของมะเร็งตับอ่อนระยะแรกค่อนข้างคลุมเครือและไม่ชัดเจน อาการจะแสดงชัดเมื่อมะเร็งลุกลามไปอวัยวะอื่นหรือท่อน้ำดีอุดตัน ได้แก่
น้ำหนักลด
เบื่ออาหาร
ภาวะตัวตาเหลือง (ตัวตาเหลืองและปัสสาวะมีสีเข้ม)
ปวดในท้องส่วนบน
ปวดหลัง
อ่อนแรง
คลื่นไส้และอาเจียน
10 – 20% มีอาการของโรคเบาหวาน เนื่องจากมะเร็งไปยับยั้งการผลิตอินซูลิน
พยาธิสภาพมะเร็งตับอ่อน
โรคมะเร็งตบั อ่อนเป็นโรคที่พบในผใู้หญ่พบไม่บ่อยนกั แต่พบมากข้ึนในปัจจุบนั โดยพบ ในผชู้ ายในอตั ราส่วนท่ีมากกว่าผหู้ ญิงเล็กน้อย (ประมาณ 1.3 ต่อ 1) และพบมากในคนอายุ 45 ปี ข้ึนไป ปัจจุบนั ยงั ไม่ทราบสาเหตุแน่นอน แต่จากการศึกษาเชื่อว่าน่าจะมาจากหลายปัจจยั เส่ียง ร่วมกนั เช่น
โรคตบัอ่อนอกัเสบเร้ือรัง
โรคถุงน้าตบั อ่อนที่ไม่ไดเ้ กิดจากตบั อ่อนอกั เสบ
การดื่มสุราและการสูบบุหรี่
โรคเบาหวาน
ความผดิ ปกติทางพนั ธุกรรมท้งั ชนิดถ่ายทอดไดแ้ ละชนิดไม่ถ่ายทอด
ตับอ่อนประกอบไปด้วย ต่อม 2 ชนิด คือ
(1) ต่อมมีท่อ มีปริมาณมาก หน้าที่สร้างเอ็นไซม์ เพื่อย่อยไขมันและโปรตีนในอาหาร
(2) ต่อมไร้ท่อ มีขนาดเล็ก และจำนวนน้อยกว่าต่อมมีท่อ อยู่รวมกันเป็นกลุ่ม ทำหน้าที่สร้างฮอร์โมน เช่น อินซูลิน กลูคากอน เป็นต้น
การรักษามะเร็งตับอ่อน
การรักษามะเร็งตับอ่อนที่สาคัญท่ีสุด คือ การผ่าตัดแต่ถ้าโรคอยู่ในระยะลุกลาม การรักษา
ต่อเนื่อง คือ ยาเคมีบำบัด และรังสีรักษา ส่วยยารักษามุ่งเป้าอยู่ในระหว่างการศึกษา และยังไม่มี รายงานการรักษาโรคน้ีด้วยยการปลูกถ่ายตับอ่อน อย่างไรก็ตามการรักษาต้องประเมินสภาพร่างกาย ของผู้ป่วยแล้วกำหนดการรักษาแตกต่างกันออกไป
1.กลุ่มท่ีทำผ่าตัดได้คือ ผู้ป่วยที่โรคยังลุกลามไม่มากและมีสภาพร่างกายแข็งแรง เมื่อ ผ่าตัดแล้วแพทย์จะนำก้อนเน้ือไปตรวจพิสูจน์ทางพยาธิวทิยา และหากมีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ก็จะมี การรักษาเพิ่ม เติมโดย เคมีบำบัดหรือรังสีรักษาร่วมด้วย
กลุ่มที่ทำผ่าตัดไม่ได้ คือ กลุ่มที่โรคลุกลามมากแล้วแต่ยังแข็งแรงมักให้การรักษา โดย เคมีบภบัดร่วมกับรังสีรักษาแต่ถ้าเป็นผู้ป่วยที่ร่างกายไม่แข็งแรงการรักษาจะเป็นการรักษาแบบ ประคับประคองตามอาการ
Thyroid
เป็นต่อมไร้ท่อชนิดหนึ่งที่อยู่บริเวณส่วนหน้าของลำคอ มีน้ำหนักประมาณ 20 กรัม ลักษณะคล้ายปีกผีเสื้อ
:
ต่อมไทรอยด์ทำหน้าที่อย่างไร
ทำหน้าที่ผลิตและหลั่งไทรอยด์ฮอร์โมนเข้าสู่กระแสเลือด จากนั้นส่งไปออกฤทธิ์ที่อวัยวะต่างๆของร่างกาย ซึ่งจะอยู่ภายใต้การควบคุมของต่อมใต้สมอง(Pituitary gland)และต่อมไฮโปธาลามัส(Hypothalamus) โดยร่างกายจะมีระบบการควบคุมการทำงานของต่อมไทรอยด์อย่างดี เพื่อรักษาระดับไทรอยด์ฮอร์โมนให้อยู่ในเกณฑ์ปกติตลอดเวลา
ไทรอยด์ฮอร์โมนมีความสำคัญในการกระตุ้นให้อวัยวะต่างๆทั่วร่างกายทำงาน โดยเฉพาะหัวใจและสมอง นอกจากนี้ยังควบคุมระบบการเผาผลาญของเซลล์ต่างๆ ระดับไขมันในเลือด ระบบย่อยอาหาร การควบคุมอุณหภูมิร่างกาย การทำงานของกล้ามเนื้อ หรือแม้แต่มีผลต่อความแข็งแรงของผิวหนัง ผม เล็บ ด้วย ดังนั้นหากมีความผิดปกติของไทรอยด์ ก็จะส่งผลกระทบต่อระบบต่างๆของร่างกายทำให้เกิดความผิดปกติตามมา
อาการ
เหนื่อย
ใจสั่น
ขี้ร้อน
น้ำหนักลด
เหงื่อออกเยอะ
ประจำเดือนน้อยลง
ผิวหนังเป็นปื้นหน้าขรุขระ
บางรายตาโปน
บางรายมีอาการแขนขาอ่อนแรง
ความผิดปกติของไทรอยด์ สามารถแบ่งได้ ดังนี้
ภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานเกิน (Hyperthyroidism) หรือไทรอยด์เป็นพิษ
เป็นภาวะที่ฮอร์โมนหลั่งออกมามากเกินความจำเป็น อาการที่พบบ่อย เช่น ผอมลงทั้งที่รับประทานเยอะ หัวใจเต้นเร็วและแรง มือสั่นใจสั่น หงุดหงิดง่าย เหงื่อออกง่าย ทนอากาศร้อนไม่ค่อยได้ นอนไม่หลับ ตาโปน ผมร่วง
ภาวะขาดไทรอยด์ฮอร์โมน หรือ ต่อมไทรอยด์ทำงานต่ำ (Hypothyroidism)
อาการไทรอยด์ต่ำ หรือที่เรียกกันว่า “ไฮโปไทรอยด์” ร่างกายมีภาวะต่อมไทรอยด์ที่ทำงานต่ำกว่าปกติ ผู้ป่วยมักมีอาการตรงข้ามกับภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานเกิน เช่น ไม่ค่อยเผาผลาญ อ้วนขึ้นง่าย น้ำหนักขึ้นอย่างรวดเร็ว เฉื่อยชา ง่วงบ่อย
ภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานผิดปกติ
เป็นภาวะที่ฮอร์โมนหลั่งออกมาตามปกติ แต่เกิดความผิดปกติที่ต่อมไทรอยด์ และอาจส่งผลกระทบต่อการหลั่งปริมาณของฮอร์โมนได้เช่นกัน ในกรณีที่ตรวจวินิจฉัยพบก้อนที่ต่อมไทรอยด์ อาจไม่ใช่มะเร็งเสมอไป โดยพบว่ามีเพียง 5% เท่านั้นที่ตรวจพบว่าเป็นมะเร็ง
การรักษา
ผู้ป่วย ได้รับยา Levothyroxine 100 mg 2x1 po a
การพยาบาล
: ขนาดยาเริ่มต้นคือ 12.5 ถึง 50 ไมโครกรัม รับประทานวันละครั้ง สามารถเพิ่มขนาดยาขึ้นไป 12.5 ถึง 25 ไมโครกรัม/วัน เพิ่มขึ้นทุกๆ 2 ถึง 4 สัปดาห์ หากคุณลืมใช้ยาควรรีบใช้ในทันทีที่นึกได้ หรือถ้าหากใกล้ถึงเวลาใช้ยาครั้งต่อไป ให้ข้ามรอบไปใช้ยาตามตารางปกติได้เลย ไม่ควรเพิ่มปริมาณยา ให้รับประทานยา 30-1 ชั่วโมงก่อนมื้อเช้า พร้อมดื่มน้ำเต็มแก้ว