Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตรวจวัดสารพิษชีวภาพ (Biomarker and Analysis) - Coggle Diagram
การตรวจวัดสารพิษชีวภาพ (Biomarker and Analysis)
Biologic al markersmarkersหรือเรียกย่อๆ ว่า biomarkers :checkered_flag:
คือสารที่เราตรวจวัดจากร่างกายของพนักงาน เพื่อดูว่าพนักงานได้รับผลกระทบจากสารเคมีที่ส ัมผัสอยู่ในที่ทำงานหรือยัง เช่น โรงงานทำแผงวงจรอิเลคโทรนิกส์ ที่ใช้ตะกั่วในการบัดกรี ถ้าต้องการตรวจดูว่าพนักงานมีการสัมผัสตะกั่ว มากน้อยเพียงใด ก็ต้องตรวจสารตะกั่วในเลือด อย่างนี้กล่าวได้ว่า “สารตะกั่ว
ในเลือด” เป็น biomarker ของตะกั่ว :check:
1
Biomarker of exposure :checkered_flag:
เป็นตัวบ่งชี้ถ ึงการรับเอาสารเคมีจากสิ่งแวดล้อมเข้าสู่ร่างกาย :check:
การตรวจวัดสามารถกระทำได้ทั้งการตรวจหาสารเคมีนั้นๆ โดยตรงและ การตรวจหา metabolite
(ผลลัพธ์ทางชีวเคมีอันเนื่องมาจากปฏิกิริยาระหว่างร่างกายกับสารเคมี) :check:
หรือผลิตผลจากปฏิกิริยาระหว่างสารเคมี/metabolite ของมันกับเซลหรือโมเลกุลเป้าหมาย :check:
Biomarker of effect :checkered_flag:
ผลลัพธ์ของการตอบสนองของร่างกายต่อสารพิษซึ่งแสดงอยู่ในรูปของความเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมี สรีระวิทยา พฤติกรรม หรืออื่นๆ ที่เกิดขึ้นในร่างกาย :check:
เป็นผลให้เกิดโรคหรือความผิดปรกติในร่างกาย หรืออีกนัยหนึ่ง biologically
effective dose ได้เริ่มออกฤทธิ์แล้ว :check:
ชนิดของ Biomarkers of effects :checkered_flag:
ความเป็นพิษต่อเลือด :check:
ความเป็นพิษต่อไต :check:
ความเป็นพิษต่อไต :check:
ความเป็นพิษต่อระบบภูมิคุ้มกัน :check:
ความเป็นพิษต่อระบบหายใจ :check:
ความเป็นพิษต่อระบบสืบพันธ์และการพัฒนาของทารก :check:
ความเป็นพิษต่อระบบประสาท :check:
ความเป็นพิษต่อหน่วยพันธุกรรม :check:
Biomarker of susceptibility :checkered_flag:
เป็นตัวบ่งชี้ทางพันธุกรรมซึ่งจะมีผลต่อความไวของการเกิดพิษในแต่ละบุคคล :check:
ในประชากรบางกลุ่มอาจจะมีการกลายพันธุ์หรือความผิดปรกติของ DNA ทาให้ขาดหรือลดประสิทธิภาพของเอ็นไซม์ที่ช่วยกาจัดสารพิษได้ :check:
ซึ่งสุดท้ายจะนาไปสู่ความเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคภัย :check:
ประโยชน์
• :checkered_flag:
ใช้ในการประเมินการสัมผัส(absorbed
amount or internal dose dose) และผลกระทบที่เกิดขึ้นของสารเคมี และความไวรับของแต่ละบุคคล(susceptibility of :check:
สามารถนำมาใช้ในการยืนยันผลในการประเมินการสัมผัสของแต่ละบุคคล รวมถึงในกลุ่มประชากรที่ได้สัมผัสกับสารเคมีนั้ :check:
Biomarkers of effect สามารถบอกถึงลักษณะอาการเริ่มแรกที่ร ่างกายมีการเปลี่ยนไปหลังจากได้รับการสัมผัสกับสารเคมี :check:
เป็นความเกี่ยวเนื่องระหว่าง biomarkers of exposure และ Biomarker of effect ใน แง่ของความสัมพันธ์dosedose-response
relationships :check:
ใช้ในการวินิจฉัยอาการทางclinical :check:
Biomarkers may be used to to: ยืนยันผลของความเป็นพิษในแง่ acute และchronic ; :check:
ประเมินประสิทธิภาพของการรักษา และ ใช้ในการทำนายโรคของผู้ป่วยแต่ละราย :check:
General laboratory considerations :checkered_flag:
การตรวจวัด biomarkers ควรจะจัดทำให้ครอบคลุม ตั้งแต่ระดับmolecular ที่ทำให้เกิดอาการ แสดงออกเช่น การเปลี่ยนแปลงของเซลสมองทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของ behavior or pulmonary
function :check:
Analytical considerations :checkered_flag:
รวมถึงการพิจารณาถึง ความแม่นยำ และ ความเทื่ยงตรงของการวิเคราะห์ ซึ่งห้องปฏิบัติการควรจะ มีการจัดทำการควบคุมคุณภาพ (quality assurance and control) ในเรื่องต่อไปนี้ automated instrumentation หรือมีลักษณะการทำงานที่ง่าย แต่เฉพาะเจาะจงSpecimen collection, handling and storage ซึ่งจะต้อง มีการป้องกันและรักษาตัวอย่างให้ดี โดยหลีกเลี่ยงการปนเปื้อนให้มากที่สุด :check:
หลักการเก็บ และ ตรวจวัดตัวอย่าง (Sampling and Measurements) :red_flag:
สิ่งที่ควรทำ :check:
ไม่บุกรุก (nonnon-invasive) :check:
เป็นตัวอย่างที่ด ี representati ve) :check:
ตัวอย่างที่เก็บมาควรจะเก็บรักษาให้เกิดความคงตัว :check:
การนำส่งตัวอย่างเลือด
:checkered_flag:
1.
ผสมตัวอย่างเลือด(mixmix)ให้เข้ากันกับสารกันเลือดแข็งโดยหากไม่ทำขั้นตอนนี้จะทำให้ตัวอย่างเลือด แข็งตัว (clotclot)และไม่สามารถทำการตรวจวิเคราะห์ได้ :check:
ระวังอย่าให้มีการปนเปื้อนของอากาศจากภายนอกเข้าสู่ตัวอย่างเลือด การป้องกันที่ด ีที่สุด คือ การนำส่งห้องปฏิบัติการอย่างรวดเร็วหลีกเลี่ยงการใช้กระบอกดูดที่หลวม :check:
ให้นำส่งโดยเก็บหลอดดูดพร้อมตัวอย่างเลือดลงในนํ้าแข็งป่น (ห้ามใช้นํ้าแข็งก้อน) เนื่องจากจะช่วยยับยั้ง อัตราการครองธาตุของเม็ดเลือดแดงในตัวอย่างเลือดได้ในกรณีที่จำเป็นต้อง ทิ้งไว้นานเกินกว่า 3030นาที่ ให้เก็บไว้ในตู้เย็น (refrigeratedrefrigerated) :check:
ปัสสาวะ :checkered_flag:
วิธีเก็บปัสสาวะ :red_flag:
1.ให้คนงาน ถ่ายปัสสาวะใส่ลงในกระบอกเก็บปัสสาวะ :check:
แบ่งปัสสาวะจากกระบอกปัสสาวะประมาณครึ่งหลอด (6 7 mlml) ลงในหลอดเก็บปัสสาวะพร้อมปิดจุกให้แน่น :check:
3.เขียนหมายเลขกำกับลงบนหลอดเก็บปัสสาวะพร้ :check:
วิธีนาส่งปัสสาวะ :red_flag:
1.
เรียงหลอดเก็บปัสสาวะในตะแกรงตามลำดับหมายเลข :check:
นำตะแกรงที่ใส่หลอดเก็บปัสสาวะลงในกระติกนํ้าแข็งพร้อม ice pack นำส่งห้องปฏิบัติการทันทีพร้อมใบส่งตัวอย่างทางชีวภาพ :green_cross:
ในกรณีไม่สามารถส่งตัวอย่างปัสสาวะได้ในวันนั้น
ให้เก็บตัวอย่างปัสสาวะในช่องนํ้าแข็งแล้วนำส่งในวันรุ่งขึ้น โดยแช่เย็นขณะนำส่ง :check: