Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่2 มโนมติและทฤษฎีการบริหารทั่วไป - Coggle Diagram
หน่วยที่2
มโนมติและทฤษฎีการบริหารทั่วไป
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารจัดการ
การบริหาร หมายถึง การที่บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปร่วมมือกันทำกิจกรรมต่าง ๆ โดยใช้วิธีการที่
เหมาะสม
การบริหารการพยาบาล คือการดำเนินงานการพยาบาลตามกระบวนการบริหาร เพื่อให้บุคลากรการพยาบาลสามารถ
ให้การพยาบาลที่มีคุณภาพตามวัตถุประสงค
การบริหารการพยาบาล หมายถึง กิจกรรมต่าง ๆ ที่บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปมาร่วมกัน โดยการใช้ทั้งศาสตร์และศิลปะ เพื่อให้
บุคลากรทางการพยาบาลสามารถให้การพยาบาลที่มีคุณภาพ
รูปแบบของการบริหาร
การบริหารมุ่งผลงาน
การบริหารโดยมุ่งตัวบุคคล
การบริหารที่มุ่งคนและงาน
การบริหารที่มุ่งถึงประสิทธิภาพตามสถานการณ
แนวคิดวิวัฒนาและทฤษฎีการบริหารจัดการ
ยุคคลาสสิค (Classical or Traditional Theory)
ทฤษฎีการบริหารเชิงวิทยาศาสตร์ (Scientific Management)
เฮนรี่ แก๊นต์
้นำเอาเทคนิคการจัดตารางสำหรับการควบคุมการปฏิบัติงานมาใช้
แฟรงค์ บังเกอร์ กิลเบรธ
ได้ทำการศึกษาความเคลื่อนไหว
ความเบื่อหน่ายและผลกระทบของสภาพแวดล้อมในการทำงานที่มีต่อคนงาน
เฟรดเดอริค วินสโลว์ เทเลอร์
บิดาแห่งการบริหารงาน
เชิงวิทยาศาสตร
ทฤษฎีการจัดการเชิงบริหาร (administrative management)
เฮ็นรี่ ฟาโยล
กระบวนการบริหารที่ผู้บริหารต้องปฏิบัติไว้ 5 ประการ (POCCC)
ลูเทอร์ กูลิคและลินดอลล์ เออร์วิค
กระบวนการบริหาร 7 ประการ คือ POSDCoRB
ทฤษฎีระบบราชการ (bureaucracy)
สร้างแนวทางการดำเนินการบริหาร
แบบระบบราชการขึ้นมาได้ ซึ่งมีลักษณะสำคัญ 7 ประการ
ยุคนีโอคลาสสิค (NEO–Classical Theory)
ทฤษฎีกลุ่ม (Work Group Theory)
นี้เชื่อว่ามนุษย์จะทำงานคนเดียวไม่ได้
ทฤษฎีมนุษยสัมพันธ์(Human Relation Theory)
การบริหารองค์กร ที่จะทำให้งานสำเร็จได้นั่นคือตัวบุคคล
ทฤษฎีการตัดสินใจ(Decision Making Theory)
เชื่อถือเรื่องการตัดสินใจเป็น
องค์ประกอบที่สำคัญของการบริหารงาน
เอลตัน เมโย
เป็นผู้วางรากฐานทฤษฎีมนุษยสัมพันธ์ พบว่าวิธีจะเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
. แมคเกรเกอร
เจ้าของทฤษฎี เอ็กซ์ และวาย (X and Y theory) ได้วาง
หลักสมมติฐานเกี่ยวกับคนเป็น 2 แนวตรงกันข้ามกัน
วิลเลี่ยม กูซี่
ิธีการทำงานแบบกลุ่มคุณภาพ
การบริหารสมัยใหม่หรือสมัยปัจจุบัน (Modern Theory)
การวางแผนองค์การ
การเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์การ
ปัจจัยที่ 1 Hard Ss เป็นอุปกรณ์แห่งความสำเร็จ
ระบบ (system)
กลยุทธ์ (strategy)
โครงสร้าง (structure)
ปัจจัยที่ 2 Soft Ss คือ ส่วนเนื้อหาแห่งความสำเร็จ
1) แบบการบริหาร (style)
2) บุคลากร (staff)
3) ทักษะ (skills)
4) ค่านิยมร่วม (shared values)
การบริหารคุณภาพทั้งองค์การ
การรื้อปรับระบบ (reengineering)